Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะความดันโลหิตสูงที่เกิดขึ้นระหว่างตั้งครรห์ (Pregnancy Induced…
ภาวะความดันโลหิตสูงที่เกิดขึ้นระหว่างตั้งครรห์ (Pregnancy Induced Hypertension : PIH)
แนวทางการดูแลรักษา
Admit ห้องคลอด
Absolute bed rest
ตรวจ V/S, urine albumin, deep tendon refex
Blood for CBC, plt conc. Coagulogram, LFT, uric, acid, LDN
Start MgSO4
10% MgSO4 2-4 gm. IV push slowly กรณีชักซ้ำอีก 1 dose.
ถ้ายังไม่หยุดชักให้ Diazepam 5 mg. IV push.
ประเมินอาการแสดงของ Mg toxicity เป็นระยะ (อย่างน้อย ชั่วโมงละครั้ง)
Patellar reflex: absent
ปัสสาวะ< 100 มิลลิลิตร/4 ชั่วโมง หรือ < 25 มิลลิลิตร/ชั่วโมง
หายใจ < 14ครั้ง/นาที
BP < 90/60 mmHg
เป้าหมายการพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะความดันโลหิตสูง
ลดความรุนแรงของโรค
ป้องกันไม่ให้โรครุนแรงมากขึ้น
ป้องกันการเกิดภาวะชักหรือภาวะชักซํ้า
ป้องกันอันตรายหรือลดภาวะเสี่ยงของทารกในครรภ์
ส่งเสริมและสนับสนุนด้านภาวะจิตสังคมเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถเผชิญกับภาวะของโรค
ส่งเสริม Uteroplacental blood flow
การวางแผนจำหน่าย
ผลต่อสตรีในครรภ์
เกิดอาการชัก
เลือดออกในสมอง
รกลอกตัวก่อนกำหนด
สตรีที่มีความเสี่ยงต่อภาวะความดันโลหิตสูง
สตรีตั้งครรภ์แรก
การตั้งครรภ์แฝด
มีโรคประจำตัว เช่น โรคเบาหวาน โรคไต
สตรีตั้งครรภ์ที่มีอายุมากกว่า 35 ปี
สตรีที่อ้วน
อาการที่บอกว่าภาวะรุนแรงขึ้น
ปวดศรีษะมากและตามัว
จุกแน่นลิ้นปี่
ปวดเกร็งท้อง เลือดออกทางช่องคลอด
ลูกดิ้นน้อยลง
ชนิดของความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
แบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม
3.HELLP syndrome
4.Eclampsia
2.Gestational hypertension
5.Chronic hypertension จากสาเหตุใดก็ตาม
1.Preeclampsia
6.Chronic hypertension และมีภาวะ Superimposed preeclampsia
ผลต่อทารกในครรภ์
ส่งผลให้เลือดที่ผ่านรกมายังทารกลดลง จึงทำให้ทารกโตช้าผิดปกติ
ทารกอาจเสียชีวิตได้
ผลข้างเคียงของยา Magnesium sulfate
คลื่นไส้อาเจียน
ความดันโลหิตต่ำ
เหงื่อออก
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ผิวหนังแดง ร้อนวูบวาบ
นางสาวธนัญญา วิเศษทรัพย์ เลขที่ 44 รหัส 611001402835