Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ที่ปรึกษาและข้าราชการต่างชาติในสมัยรัชกาลที่ 5 - Coggle Diagram
ที่ปรึกษาและข้าราชการต่างชาติในสมัยรัชกาลที่ 5
ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาจากต่างชาติ
ปัญหาแสวงหาผลประโยชน์ของข้าราชการต่างชาติ
ชาวต่างชาติที่เข้ามารับราชการส่วนใหญ่ล้วนมีจุดมุ่งหมายเพื่อการแสวงหา
มูลเหตุการว่าจ้างชาวต่างชาติ
นโยบายสำคัญของสยามสมัยร.5
จ้างชาวต่างชาติที่มีความเชี่ยวชาญเข้ารับราชการ ในรดับที่ปรึกษาแลพข้าราชการประจำหน่วยงาน
การส่งเสริมเสถียรภาพของบ้านเมืองเพื่อรักษาเอกราชของชาติให้รอดพ้นจากลัทธิจักวรรดินิยม
ปัญหาจากฝ่ายไทย
ผู้บริหารไทยบางคนเป็นพวกอนุรักษ์นิยม
ไม่พอใจและไม่สามารถสื่อสารกับข้าราชการชาวต่างชาติในหน่วยงานของตนได้
ปัญหานโยบายรัฐ
นโยบายจำกัดขอบเขตของข้าราชกาลต่างชาติ
ปัญหาจากผู้บริหาร
ผํ้บังคับบัญชาใช้อำนาจในการพิจารณาความดีความชอบหรือตัดสินลงโทษผู้ใต้บังคับบัญชาโดยอาศัยระบบอุปถัมภ์
นโยบายการว่าจ้างชาวต่างชาติ
พระราโชบายของร.5
คัดเลือกชาวต่างชาติเข้ารับราชการ
รัฐบาลเป็นผู้ชี้ขาดในการดำรงตำแหน่ง
การคัดเลือกแต่ละครั้งจึงแสดงถึงนโยบายต่างประเทศอันฉลาดหลักแหลมของสยาม
ประเภทของข้าราชการต่างชาติ
ข้าราชการต่างชาติประจำกรมกองต่างๆ
หน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตราธิการ
หน่วยงานในสังกัดกระทรวงโยธาธิการ
หน่วยงานในสังกัดกระทรวงการคลัง (ข้าราชกาลทั้งหมดเป็นชาวอังกฤษ)
หน่วยงานในสังกัดกระทรวงกลาโหม
หน่วยงานในสังกัดกระทรวงนครบาล
ที่ปรึกษาราชการทั่วไป
หน้าที่
เกี่ยวข้องใกล้ชิดสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ประสานความรู้การดำเนินงานกับเสนาบดีกระทราวงต่างๆ
ผู้ที่่ดำรงตำแหน่งนี้มีทั้งหมด 3 คน
นายเอ็ดเวิร์ด สโตรเบล
นายเจนส์ ไอเวอร์สัน เวสเดนการ์ด
นายโรลัง ยัคมินส์
ที่ปรึกษาประจำกระทรวงและกรมต่างๆ
กระทรวงยุติธรรม
กระทรวงเกษตรราธิการ
กระทรวงการคลัง
กระทรวงการต่างประเทศ
กระทรวงศึกษาธิการ