Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบประสาทกล้ามเนื้อเเละกระดูก…
บทที่ 7 การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบประสาทกล้ามเนื้อเเละกระดูก
การตรวจระบบประสาทเเละสมองในเด็ก
Babinski'k sign
ใช้อุปกรณ์ปลายทู่ ได้ผลบวกเเสดงว่ามี upper motor neuron lesion)
Brudzinski's sign
ตรวจสอบในเด็กที่มีภาวะติดเชื้อเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
Kernig's sign
เด็กนอนหงายทั้งสองข้าง ขาตั้งฉากลำตัว ติดเชื่อไม่สามารถทำได้
Muscle tone
ตรวจดูความตึงตัวของกล้ามเนื้อ
Tendon reflex
ใช้ไม้เคาะเข่าเอ็น เคาะตรงเอ็นที่ยึดกล้ามเนื้อให้ติดกับข้อกระดูกเเละสังเกตดู reflex
การพยาบาลเด็กที่มีภาวะความดันในช่องกระโหลกศรีษะสูง
ภาวะความดันสูงในกระโหลกศีรษะ
ภาวะความดันสูงในกระโหลกศีรษัคือภาวะที่มีความดันในกระโหลกศีราะสูงกว่าปกติ ซึ่งวัดได้จากการเจาะดูน้ไขสันหลังถ้าความดันของน้ำไขสันหลังที่เจาะได้สูงก่า 200 มิลลิเมตรน้ำ
การพยาบาลเพื่อรป้องกันภาวะความดันในกระโหลกศีรษะ
ทำให้อุณหภูมิร่างกายอยู่ใน 32-33 องศา
ให้ผู้ป่วยได้รับยา Acetazolamine (diamox) ตามเเผนการรักษา
จำกัดน้ำ
ป้องกันไม่ให้เกิดการติดเชื้อ(Secondary infection)
เพื่ออัตราการหายใจ(Hyperventilation) โดยให้ bag-mask ventilation 100% o2 ทำให้ co2 ในเลือดลดลงกว่าเกณฑ์ปกติให้อยู่ระหว่าง 25-30 mmHg
ผู้ป่วยโรคสมองบวมน้ำ (Hydrocephalus)ก่อนผ่าตัดต้องเฝ้าระวัง ภาวะความดันในกระโหลกศีรษะสูง
ประเมินสัญญาชีพเเละการเปลี่ยนเเปลงระบบประสาท ทุก 1-2 ชั่งโมง
ส่งเสริมการระบายอากาศเพียงพอการจัดท่านอนไม่ให้ศีรษะเอียงไปด้านข้างหรือก้มศีรษะมากเกินไป
จัดท่านอนให้ศีรษะสูง 15-30 องศา
ภาวะน้ำคั่งในกระโหลกศีรษะ (Hydrocephalous)
สาเหตุ
มีการอุดตันของทานเดินน้ำไขสันหลังระหว่างที่
ผลิดเเละจุดที่ดูดซึม
ความผิดปกติของการดูดซึมของน้ำไขสันหลังอักเสบจาก Congenital Hypoplasia
มีการสร้าง CSF มากกว่าปกติ พบบ่อยคือเนื้องอกของ Choroid Plexus
อาการ
มีอาการเมื่อมองลงล่างจะเห็นตาขาวมาก(Sun set eye ) ซึ่งปกติจะมองไม่เห็น กล้ามเนื้อเเขนขากว้าง
3.เบื่ออาหาร เลี้ยงไม่โต สั่ง ร้องเสียงเเหลม เมื่อมีอาการมากขึ้นดูดนมลำบาก ตัวผอม
1.ทารกเเละเด็กเล็ก ที่มีภาวะน้ำคั่งในกระโหลกมีรอยศีรษะโตกว่ารอบอกเกิน 2-5 ซม.
เเนวทางการรักษา
ถ้าศีรษะโตไม่มากนัก ใช้วิะีการเจาะหลังใส่ยาก็อาจให้ความดันของน้ำไขสันหลังปกติ
ถ้าศีรษะโตต้องผ่ตัดเอาส่วนที่อุดตันออก เช่น เนื้องอก
ทำ Shunt ให้น้ำไขสันหลังจาก Ventricle ไปดูดซึมที่ Peritoneal เรียก V-P shunt
การพยาบาล
ก่อนผ่าตัด
อาจเกิดภาวะขาดสารน้ำ จับให้เด็กเรอหลังดื่มนม
จัดให้นอนบนทีนอนอ่อนนุ่ม พลิกตะเเคงทุก 2 ชั่วโมง
ดูเเลไม่ให้เด็กร้อง,หลีกเลี่ยงการทำให้อาเจียน
ความสัมพันธ์ระหว่างบิดามารดาเเเละเด้กอาจไม่เป็นไปตามปกติ
หลังผ่าตัด
จัดให้อนราบกรณักระหม่อมลึกลงไปมาก
ประเมิณกระบวนการอักเสบของเนื้อเยื่อ,ตัดเล็บเด็กให้สั้นเเละหลีกเลี่ยงการเกาบริเวณศรีษะ
NPO หลังผ่าตัดเพื่อลดอาการท้องอืด
บิดามารดามีความกังวล เนื่องจากขากความเข้าใจในการดูเเลบุตร
เเนะนำบิดามารดา
1.เเนะนำสังเกตดอาการความดันในกรัโหลกศีรษะ
สังเกตบริเวณที่มี Pump ว่าบวมหรือไม่
เเนะนำเกี่ยวกับเรื่องอาหาร เช่น ให้รับประทานผักผลไม่เพื่อป้องกันท้องผูก
การพยาบาลเด็กที่มีการติดเชื้อในระบบสมอง (Intracranial infection)
เยื่อหุ้มสมองสมองอักเสบ
Eosinophilic meningitis เกิดจากพยาธิตัวจี๊ด
การติดเชื้อรา (fungal meningitis)
Viral meningitis หรือ Aseptic meningitis
ไม่ใช่การติดเชื่อ (non-infection diseases)
เนื้องอก (Malignancy)
การบาดเจ็บเเละการกระทบกระเทือนสมอง
Bacterial meningitis
Purulent meningitis
เยื่อหุ้มสมองอักเสบชนิดเป็นหนอง
Tuberculosis meningitis เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อวัณโรค
การรักษา
การรักษาเฉพาะ
การรักษาภาวะเเทรกซ้อน
การรักษาทั่วไปตามอาการเเละการรักษาเเบบประคับประคอง
การพยาบาล
ประเมินน้ำหนักตัวเเะภาวะขาดน้ำ
ไม่สุขสบาย
ให้ยาปฏิชีวนะลดอาการบวมของสมอง
สมองอักเสบ Encephalitis
สาเหตุ
Primary viral encephalitis ไวรัสที่นำโดยเเมลง โดยเฉพาะไข้สมองอักเสบ
Secondary viral encephalitis การอักเสบโดยเป็นผลจากการปฏิกิริยาที่มีไวรัสเข้าสู่ร่างกาย
อาการ
ไข้สูงมมากๆ ปวกศีรษะ ปวดต้นคอคอเเข็ง
ซึมลง ชัก มีอาการเคลื่อนไหวผิดปกติ
กระสับกระส่าย
หายใจไม่สม่ำเสมอ
การรักษา
ดูเเลระบบหายใจของผู้ป่วยให้เป็นปกติ
ให้สารอาหารที่มีเเคลเซียม
ให้ยา
ยาระงับชัก
ยาป้องกันเเละรักษาความสมองบวม
ยานอนหลับ
ยาลดไข้, ยาacylovir
รักษาสมดุลของปริมาณน้ำเข้า-ออก ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ภาวะเเทรกซ้อน
ความจำเสื่อมเเละความคิดต่ำกว่าวัย พฤติกรรมเปลี่ยนเเลง
ผู้ที่มีอากากรรุนเเรงอาจทำให้เสียชีวิต
มีความผิดปกติางอารมณ์
ส่วนผู้ป่วยที่อากรไม่รุนเเรง อาจหายเป็นปกติหรือเเกร็งของกล้ามเนื้อทำให้เป็นอัมพาตครึ่งซีก ไม่พูดไม่ชัด
การพยาบาาลเด้กที่มีอาการชัก
ภาวะชักจากไข้สูง (Febrile seizure)
ภาวะชักเเละโรคลมชัก (Seizure and Epilepsy)
Epilepsy(โรคลมชัก)
= ไม่ได้เกิดจากสาเหตุภายนอกเช่น การติดเชื้อในสมอง การเกิดอุบัติเหตุทางสมอง
Convulsion (อาการเกร็งเเละ/หรือกระตุก)
= อาการเเสดงทง motor ผิดปกติ เเสดงอาการด้วยการเกร็งเเะลกระตุก
Status epileticus
= การชักต่อเนื่องมากกว่า30 นาที หรือการชักหลายครั้งในช่วงเวลานานกว่า 30 นาที โดยผู้ป่วยไม่รู็สึกตัวเป็นปกติขณะหยุดชัก
Seizure (อาการชัก)
= มีการเปลี่ยนเเปลงอย่ารวดเร็วของคลื่นไฟฟ้าสมอง
สาเหตุ
ภาวะเลือดออกในกระโหลกศีรษะ
โรคบาดทะยัก
ภาวะไข้สูงจากเด็กเล็ก
ชนิดเเละลักษณะเแพาะของภาวะชัก
Generalized seizure
= การชักที่เกิดจากความผิดปกติของคลื่นไฟฟ้าสมองพร้อมกันทั้งสองด้าน
Unclassified epileptic seizure
= เป็นหารชักที่ไม่สามาถจัดกลุ่มได้เนื่องจากข้อมูลไม่เพียงพอหรือเนื่องจากการไม่สมบูรณ์ของสมอง
Partial seizure =
simple partial seizure = ผู้ป่วยไม่เสียความรู้ตัวขณะที่มีอาการชัก*
Complex partial seizure = ผู้ป่วยจะเสียการรู็ตัวขณะที่มีอาการชัก
การชักจากไข้สูง (Febrile convulsion (Febrile Seizure)
อาการ
มีไข้ มากกว่าหรือเท่ากับ 39 องศา
ลักษณะอาการชัก พบมากคือ generalized tonic-clonic
ช่วงเวลาที่ชัก = ชักก่อนตรวจพบไข้ภายใน 1 ชม
การชักซ้ำภายใน 24 ชั่วโมง = พบร้อยละ 16%
การรักษา
รักษาสาเหตุที่ทำให้หเกิดไข้
ระงับการชักด้วยการให้ Diazepam ทาง vein or anus ให้ซ้ำทุก 6-8 ชม.
paracetamol 10-20 mg/kg/dose ให้ซ้ำได้ทุก 4-6 ชม.
การพยาบาล
เเนะนำวิธีสาธิตการเช็ดตัวลดไข้ให้ถูกต้อง
เเนะนำวิธีการช่วยเหลือที่ถูกต้องขณะที่มีภาวะชัก
เปิดโอกาศให้บิดามารดาได้ดูเเลเด็กเพื่อให้เกิดความมั่นใจในการดูเเลเด็ก
นางสาวเจนจิรา สันโดด621201115 ชั้นปีที่ 3