Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 การควบคุมภายใน และบทที่ 3 การบริหารความเสี่ยง - Coggle Diagram
บทที่ 2 การควบคุมภายใน
และบทที่ 3 การบริหารความเสี่ยง
การควบคุมภายในหมายถึง
IFAC สหพันธ์นักบัญชีระหว่างประเทศ
นโยบายและวิธีปฏิบัติ ซึ่งผู้บริหารของกิจการกำหนดขึ้นเพื่อช่วยให้บรรลุประสงค์ของผู้บริหาร
COSO (โคโซ่)
กระบวนการปฏิบัติงานที่ถูกกำหนดร่วมกันโดยคณะกรรมการบริหาร ตลอดจนพนักงานในองค์กรทุกระดับ เพื่อให้ทุกอย่างสมเหตุสมผลเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุม
AICPA 2491 สมาคมผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่ง USA
แผนการจัดหน่วยงาน วิธีปฏิบัติที่สัมพันธ์และมาตรการที่กิจการกำหนด และถือปฏิบัติภายในองค์กร
แนวคิด AICPA 2491
การควบคุมด้านการบริหาร (Administrative or Operational or management control)
ควบคุมวิธีการและมาตรการต่างๆที่ทำให้เกิดการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพตามนโยบายของผู้บิหาร
การควบคุมด้านการบัญชี (Accounting Control)
เป็นแผนการจัดองค์การเกี่ยวกับการดูแลทรัพย์สิน การตรวจสอบ ความถูกต้อง และเชื่อถือได้ของข้อมุลทางการบัญชี
การควบคุมขั้นพื้นฐาน ควบคุมเพื่อให้แน่ใจว่ารายการบันชีได้บันทึกไว้อย่างถูกต้องครบถ้วน เกิดขึ้นจริงและได้รับการอนุมัติ
การควบคุมสนับสนุน ควบคุมเพื่อให้แน่ใจว่าได้มีการปฏิบัติตามระบบการควบคุมภานในขั้นพื้นฐานสม่ำเสมอ
แนวคิด COSO
มี 5 สถาบัน ได้แก่ 1. AICPA 2. AAA 3. IIA 4. IMA 5. FEI
COSO = The Committee of Sponsoring Organization of the Tread way Commission
สมเหตุสมผล 3 ด้าน คือ
การมีประสิทธิและประสิทธิผลของการดำเนินงาน
ความเชื่อถือได้ของรายงานการเงิน
การปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อบังคับ กฎ ระเบียบ และข้อบังคับ
แนวคิดองค์ประกอบการควบคุมภายใน
การประเมินความเสี่ยง
กิจกรรมการควบคุม
สภาพแวดล้อมการควบคุม
การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการบริหารและคณะกรรมการตรจสอบ
ปรัญชา และรูปแบบการทำงานของผู้บริหาร
ความรู้ ทักษะ และความสามารถ
โครงสร้างการจัดองค์กร
ความซื่อสัตย์และจริยธรรม
การมอบอำนาจและความรับผิดชอบ
นโยบายและวิธีบริหารด้านทรัพยากรมนุษย์
ข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร
การติดตามและประเมินผล
การบริหารความเสี่ยง
คือ โอกาสที่ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงแตกต่างไปจากผลลัพธ์ที่คาดการณ์ไว้
ทางบวก คือ ทำให้มูลค่าขององค์กรเพิ่มขึ้น เรียกว่า "โอกาส"
ทางลบ คือ องค์กรไม่บรรลุวัตถุประสงค์และสร้างความเสียหายต่อองค์กร เรียกว่า "ความเสี่ยง"
ความสำคัญของการบริหารความเสี่ยง คือเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้ผู้บริหารจัดการกับความเสี่ยงได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเพิ่มความสามารถขององค์กรในการเพิ่มมูลค่าให้กับผู้มีส่วนได้เสียในองค์กร
วัตถุประสงค์ของการจัดการความเสี่ยง
วัตถุประสงค์การดำเนินงาน (Operation : O)
วัตถุประสงค์การรายงาน (Financial Reporting : F)
วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ (Strategic : O)
วัตถุประสงค์การปฏิบัติตามระเบียบ (Compliance : C)
องค์ประกอบของการจัดการความเสี่ยง
การระบุเหตุการณ์
การประเมินความเสี่ยง
การกำหนดวัตถุประสงค์
การตอบสนองความเสี่ยง
สภาพแวดล้อมภายใน
กิจกรรมควบคุม
สารสนเทศและการสื่อสาร
การติดตามผล