Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 การสร้างและหาคุณภาพเครื่องมือการวิจัย - Coggle Diagram
บทที่ 9 การสร้างและหาคุณภาพเครื่องมือการวิจัย
การหาคุณภาพของเครื่องมือการวิจัย
ความยาก
วิธีการหาความยาก
-ความยากของข้อสอบอิงกลุ่ม
-ความยากของข้อสอบอิงเกณฑ์
เกณฑ์ในการพิจารณาค่าดัชนีความยาก
ความหมายของความยาก หมายถึง คุณภาพของเครื่องมือการวิจัยที่ได้จากสัดส่วนของผู้ตอบถูกจากผู้ตอบทั้งหมดในข้อนั้น
อำนาจจำแนก
ความหมายของอำนาจจำแนก หมายถึง คุณภาพของเครื่องมือการวิจัยที่ได้จากสัดส่วนของผลต่างระหว่างจำนวนผู้ตอบถูกในกลุ่มที่ได้คะแนนมากกับที่ได้คะแนนน้อย
วิธีการหาอำนาจจำแนก
กรณีแบบทดสอบ
-การหาอำนาจจำแนกแบบอิงกลุ่ม
-การหาอำนาจจำแนกแบบอิงเกณฑ์
-เกณฑ์ในการพิจารณาดัชนีอำนาจจำแนก
ความเที่ยง
ความหมายของความเที่ยง หมายถึง คุณภาพของเครื่องมือการวิจัยที่วัดได้คงเส้นคงวา จะวัดกี่ครั้งก็ได้ผลเหมือนเดิมทุกครั้ง
วิธีการประมาณค่าความเที่ยง
-การประมาณค่าความเที่ยงแบบอิงกลุ่ม
-การประมาณค่าความเที่ยงแบบอิงเกณฑ์
ความเป็นปรนัย
ความหมายของความเป็นปรนัย หมายถึง คุณภาพของเครื่องมือการวิจัยที่มีคุณลักษณะ ดังนี้ คำถามมีความชัดเจน มีเกณฑ์การตรวจให้คะแนนที่แน่นอน มีการแปลความหมายของคะแนนที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ
วิธีการหาความเป็นปรนัย
ผู้วิจัยนำเครื่องมือไปให้กลุ่มตัวอย่างทดลองอ่านข้อคำถามแล้วพิจารณาว่าสามารถตอบคำถามได้ตรงตามวัตถุประสงค์ของข้อคำถามนั้นหรือไม่ แล้วนำคำตอบไปให้ผู้อื่นทดลองตรวจคะแนนและแปลความหมายของคะแนน แล้วพิจารณาดูว่าการตรวจให้คะแนนและแต่ละความหมายได้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดหรือไม่
ผู้เชี่ยวชาญพิจารณาความตรงเชิงเนื้อหาและพิจารณาความเป็นปรนัยจากความชัดเจนของข้อคำถาม
ความตรง
ความหมายของความตรง หมายถึง คุณภาพของเครื่องมือการวิจัยที่วัดได้ตรงตามวัตถุประสงค์และพฤติกรรมที่ต้องการ วัดได้ครอบคลุมครบถ้วนตามเนื้อหาและถูกต้องตรงตามความเป็นจริง
ประเภทของความตรง
-ความตรงเชิงเนื้อหา
-ความตรงเชิงโครงสร้าง
ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือการวิจัย
การเลือกรูปแบบคำถาม
การร่างคำถาม
ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือการวิจัย
-จำนวนตัวชี้วัด
-การพัฒนาตัวชี้วัด
-จำนวนและรูปแบบคำถาม
การตรวจสอบขั้นต้น
การตรวจสอบคุณภาพ
ความหมายของคุณภาพเครื่องมือการวิจัย
คุณภาพเครื่องมือการวิจัย หมายถึง คุณลักษณะที่บ่งบอกความสามารถของเครื่องมือวิจัยที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวิจัย
-การตรวจสอบก่อนนำไปทดลองใช้
-การตรวจสอบผลที่เกิดขึ้นหลังจากการนำไปทดลองใช้