Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบต่อมไร้ท่อ - Coggle Diagram
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบต่อมไร้ท่อ
เบาหวาน
การรักษาโดยไม่ใช้ยา
ควบคุมอาหาร ออกกำลังกาย
การรักษาโดยใช้ยา
ยาฉีดอินซูลิน
ข้อบ่งใช้
type I DM, gestational DM ใช้เฉพาะอินซูลินเท่านั้น
type II DM เช่น ใช้ยาลดน้ำตาลในเลือดชนิดอื่นไม่ได้ผล โรคตับหรือโรคไตระดับรุนแรง
กลไกการออกฤทธิ์ของ insulin
นำกลูโคสจากเลือดเข้าสู่เซลล์
เปลี่ยนกลูโคสเป็นglycogen
นำโปตัสเซียมเข้าสู่เซลล์ (พร้อมกับการนำเข้ากลูโคส)
ผลข้างเคียง
ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ → หัวใจเต้นเร็ว เหงื่อออกมาก หิว ปวดหัว สั่น
ตุ่มนูนแข็งจากไขมันชั้นใต้ชั้นผิวหนังตรงตำแหน่งที่ฉีด จากการฉีดอินซูลินซ้ำที่ตำแหน่งเดิม
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
Sulfonylureas
กลไกการออกฤทธิ์
กระตุ้นการหลั่งอินซูลินจากเบต้าเซลล์ที่ตับอ่อน
ผลข้างเคียง
น้ำหนักตัวเพิ่ม
ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ
คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ปวดท้อง
Biguanides
ตัวยาMetformin
กลไกการออกฤทธิ์
เพิ่มความไวของเนื้อเยื่อต่ออินซูลิน และลดการสร้างกลูโคสจากตับ
เพิ่มกานำกลูโคสเข้าเซลล์กล้ามเนื้อและเพิ่มการใช้
ผลข้างเคียง
เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก ท้องเสีย น้ำหนักลด
ลดการดูดซึมวิตามินB12และfolic acid
การคั่งของกรดแลคติก หายใจหอบ เบื่ออาหาร เซื่องซึม
Thiazolidinediones
Pioglitazone
เพิ่มความไวของเนื้อเยื่อต่ออินซูลิน
เพิ่มการนำกลูโคสเข้าเซลล์ และลดการสังเคราะห์กลูโคส
ผลข้างเคียง
บวมน้ำ
เพิ่ม LDL cholesterol
พิษต่อตับ อาการบ่งบอก เช่น ตัวเหลือง ปัสสาวะสีดำ
alpha-glucosidase inhibitors
ชื่อสามัญทางยาAcarbose, Voglibose, Miglitol
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งเอนไซม์ alpha-glucosidase และเอนไซม์ amylase เอนไซม์นี้มีหน้าที่ย่อยคาร์โบไฮเดรตเป็นน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว
ลดการย่อยและการดูดซึมคาร์โบไฮเดรตเข้าสู่ร่างกาย
ผลข้างเคียง
ปวดท้อง ท้องเสีย ท้องอืด ผายลมบ่อย
ลดการดูดซึมธาตุเหล็ก ทำให้โลหิตจาง
พิษต่ตับ เมื่อใช้ระยะยาว
incretin-based drugs
กระตุ้นตัวรับ GLP-1
ชื่อสามัญทางยาExenatide, Liraglutide, Albiglutide,
Dulaglutide
กลไกการออกฤทธิ์ กระตุ้นตัวรับGLP-1ส่งผลให้มีการกระตุ้นการหลั่งอินซูลิน ยับยั้งการหลั่งกลูคากอน
ผลข้างเคียง เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน น้ำหนักลด ท้องเสีย
ยับยั้งเอนไซม์ DPP-4 (DPP-4 inhibitors)
กลไกการออกฤทธิ์ ยับยั้งเอนไซม์ DPP-4 ซึ่งเป็นเอนไซม์ทำลาย GLP-1 และGIP ทำให้ลดการททำลายฮอร์โมน GLP-1 และ GIP
ผลข้างเคียง การติดเชื้อระบบทางเดินหายใจส่วนบน เยื่อบุจมูกอักเสบ
ความผิดปกติของต่อมธัยรอยด์
ระดับธัยรอยด์ฮอร์โมนในเลือดสูง
Thioamides
ยาPropylthiouracil (PTU), Methimazole (MMI)
กลไกการออกฤทธิ์ ยับยั้งเอนไซม์ที่ใช้สังเคราะห์ฮอร์โมนธัยรอยด์
ผลข้างเคียง กดไขกระดูกโดยเฉพาะการลดลงของเม็ดเลือดขาว
Iodides
ยาsaturated solution of potassium iodide (SSKI),
Lugol’s solution
กลไกการออกฤทธิ์ ยับยั้งการสังเคราะห์ฮอร์โมนธัยรอยด์
ผลข้างเคียง พิษไอโอดีน
Radioactive iodine (RAI): การกินแร่
กลไกการออกฤทธิ์ ปล่อยรังสัเบต้าทำลายต่อมธัยรอยด์
ผลข้างเคียง ระดับธัยรอยด์ฮอร์โมนต่ำ กดไขกระดูก
ระดับธัยรอยด์ฮอร์โมนในเลือดต่ำ
Levothyroxine (T4)
ธัยรอยด์ฮอร์โมนชนิด T4 ที่ได้จากการสังเคราะห์
ผลข้างเคียง หากได้รับยามากจนทําให้ระดับธัยรอยด์ฮอร์โมนในเลือดสูง→ผู้ป่วยจะมีอาการหัวใจเต้นเร็ว กระสับกระส่าย ทนร้อนไม่ได้ น้ำหนักลด
Liothyronine (T3)
ธัยรอยด์ฮอร์โมนชนิด T3 ที่ได้จากการสังเคราะห์
ผลข้างเคียง ปฏิกิริยาต่อกันระหว่างยา เช่นเดียวกับlevothyroxine (T4)
เอสโตรเจน
กลไกการออกฤทธิ์
ซึมผ่านพลาสมาเมมเบรน
จับกับตัวรับซึ่งจะจำเพาะต่อฮอร์โมนนั้นๆในไซโตพลาสsteroid-receptor complex
มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างและซึมเข้าสู่นิวเคลียสจับกับตำแหน่งจำเพาะบนโครมาติน
กระตุ้นให้มีการสังเคราะห์RNAและโปรตีน
อาการข้างเคียง
คลื่นไส้ อาเจียน มึนงง ปวดศีรษะ เลือดออกกระปริดกระปรอย เจ็บคัดเต้านม น้ำหนักเพิ่มบวม
ฝ้า เพิ่มความเสี่ยงต่อภาวะเส้นเลือดอุดตัน
เป็นสารก่อมะเร็ง และเป้นสารก่อลูกวิรูป
ตัวอย่างยาantiestrogen
Clomiphene:หญิงมีบุตรยาก(กระตุ้นการตกไข่)
Fulvestrant: มะเร็งเต้านม
โปรเจสเตอโรน
19 nortestosterone
รุ่นที่ 1 เช่น norethisterone acetate , norethylnodrel , lynestrenolและethynodiol diacetate เป็นต้น
รุ่นที่2 เช่น norgestrel และ levonorgestrel เป็นต้น
รุ่นที่3 เช่น desogestrel ,gestodene และ norgestimateเป็นต้น
รุ่นที่4 (อนุพันธ์ของspironolactone) เช่น drospirenone
อาการข้างเคียง
เลือดออกกระปริดกระปอย อ่อนเพลีย น้ำหนักเพิ่ม เจ็บคัดเต้านม น้ำตาลในเลือดสูง ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง กล้ามเนื้อหัวใจตายระหว่างตั้งครรภ์ โปรเจสเตอโรนมีฤทธิ์ก่อลูกวิรูป
Progesterone antagonists
Mifepristone
ยาคุมกำเนิด
เหนี่ยวนำให้เกิดการแท้ง
รักษาเนื้องอกที่มดลูก เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ มะเร็งเต้านม
แอนโดรเจน
ชนิดที่สำคัญคือ เทสโทสเตอโรน
สร้างขึ้นในอัณฑะและเปลือกนอกต่อมหมวกไต
ส่วนเพศหญิงสร้างเทสโทสเตอโรนจากรังไข่และเปลือกนอกต่อมหมวกไต
อาการข้างเคียง
เพศหญิงถ้าได้รับแอนโตรเจนสูงขนาดสูง เกิดขนดก สิว กดการมีประจำเดือน อวัยวะเพศขนาดใหญ่ขึ้น เสียงห้าว เกิดการคั่งของโซเดียมและน้ำ
เพศชายที่ขาดฮอร์โมนและรับแอนโตรเจน อาจเกิดต่อมลูกหมากโตทำให้ปัสสาวะไม่ออก อาการที่พบทั่วๆไปคือ คลื่นไส้ ความรู้สึกทางเพศเพิ่มขึ้นหรือลดลง เป็นไข้ เป็นสิว เป็นหมัน หมดสมรรถภาพทางเพศ
ยาเม็ดคุมกำเนิด
ประกอบด้วยฮอร์โมน2ชนิด
เอสโตรเจน: ethinyl estradiol (EE) และ mestranol
โปรเจสเตอโรน: norethisterone, lynestrenol, levonorgestrel,
desogestrel, cyproterone acetate และ drospirenone
ชนิดของยาเม็ดคุมกำเนิด
1.ยาเม็ดคุมกำเนิดชนิดฮอร์โมนรวม
1)ชนิดฮอร์โมนในขนาดคงที่
ฮอร์โมนปริมาณสูง EE > 50 ug และ P 500 ug ขึ้นไป เช่น Eugynon ,Ovral ส่วนใหญ่ใช้สำหรับโรคทางนรีเวช
ฮอร์โมนปริมาณต่ำ EE< 50 ug และ P ปริมาณน้อย นิยมใช้ในการคุมกำเนิด
2)ชนิดที่มีฮอร์โมนในขนาดคงที่แตกต่างกัน
Biphasic pills
Triphasic pills
2.ยาเม็ดคุมกำเนิดที่มีโปรเจสเตอโรนอย่างเดียว
Pขนาดน้อยๆเท่ากันทุกเม็ด ตัวอย่างเช่นExluton (lynestrenol 0.5 มก.)
3.ยาเม็ดคุมกำเนิดฉุกเฉิน
COC E สูง 2 เม็ด หลังร่วมเพศไม่เกิน72ชม. 12ชม.2เม็ด
Levonorgestrel 0.75 มก.หลังร่วมเพศไม่เกิน72ชม. 12ชม.1เม็ด
Levonorgestrel 1.5 มก.หลังร่วมเพศไม่เกิน72ชม.
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการหลั่งFSH ทำให้ไข่ไม่เจริญเติบโต
ยับยั้งLH ทำให้ไม่มีLH surge และไม่มีการตกไข่
ผลต่อเยื่อเมือกปากมดลูกPทำให้เมือกมีปริมาณน้อยและเหนี่ยวข้น ตัวอสุจิผ่านเข้าสู่โพรงมดลูกไปผสมกับไข่ได้ยาก