Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปการควบคุมภายใน - Coggle Diagram
สรุปการควบคุมภายใน
แนวคิดการควบคุมภายในของโคโซ่ องค์ประกอบของการควบคุมภายในตามแนวคิดของ COSO มี 5 ประการ
กิจกรรมการควบคุม
ข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร
การประเมินความเสี่ยง
การติดตามและประเมินผล
สภาพแวดล้อมการควบคุม
ปรัชญา และรูปแบบการทำงานของผู้บริหาร
โครงสร้างการจัดองค์กร
การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการบริหารและคณะกรรมการตรวจสอบ
การมอบอำนาจละความรับผิดชอบ
ความรู้ ทักษะ และความสามารถ
นโยบายและวิธีบริหารงานด้านทรัพยากรมนุษย์
ความซื่อสัตย์และจริยธรรม
ระบบการควบคุมภายใน ประกอบด้วยนโยบายและวิธีปฏิบัติงานที่กำหนดขึ้นในองค์กร อย่างสมเหตุสมผล 3 ด้าน คือ
ความเชื่อถือได้ของรายงานการเงิน
การปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อบังคับ กฎ ระเบียบ และข้อบังคับ
ความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการดำเนินงาน
การควบคุมภายใน ตามแนวคิดของ AIPCA แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
การควบคุมด้านการบริหาร หมายถึง การควบคุมที่มิได้จำกัดอยู่เพียงแผนการจัดองค์กร แต่รวมไปถึงวิธีการและมาตรการต่างๆ ที่จะทำให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพ
การควบคุมด้านการบัญชี หมายถึง แผนการจัดองค์การ วิธีการและมาตรการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการดูแลทรัพย์สิน การตวจสอบความถูกต้องและเชื่อถือได้ของข้อมูลทางการบัญชี
ประเภทของการควบควบคุมภายในด้านบัญชีแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
การควบคุมขั้นพื้นฐาน
การควบคุมสนับสนุน
ความหมายของการควบคุมภายใน
AICPA 2491 การควบคุมภายใน คือ แผนการจัดหน่วยงาน วิธีปฏิบัติงานที่ประสานสัมพันธ์กันและมาตรการต่างๆ ที่กิจการกำหนดขึ้น และถือปฏิบัติภายในองค์กร
IFAC ระบบการควบคุมภายใน หมายถึง นโยบายและวิธีปฏิบัติ ซึ่งผู้บริหารของกิจการกำหนดขึ้นเพื่อช่วยให้บรรลุวัตถุประสงค์ของผู้บริหาร
COSO (โคโซ่) การควบคุมภายใน คือ กระบวนการปฏิบัติงานที่ถูกกำหนดร่วมกันโดยคณะกรรมการผู้บริหาร ตลอดจนพนักงานขององค์กรทุกระดับชั้น เพื่อให้เกิดความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่า วิธีการหรือการปฏิบัติงานตามที่กำหนดไว้จะทำให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุม
การบริหารความเสี่ยง
ความหมาย ความเสี่ยงคือ โอกาสที่ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงแตกต่างไปจากผลลัพธ์ที่คาดการณ์ไว้
ทางลบ ทำให้องค์กรไม่บรรลุวัตถุประสงค์และสร้างความเสียหายให้กับองค์กร เรียกว่า "ความเสี่ยง"
ทางบวก ทำให้มูลค่าขององค์กรมีระดับเพิ่มขึ้น กาเรเกิดเป็นประโยชน์ต่อองค์กร เรียกว่า "โอกาส"