Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 7 นโยบายกฎหมายเเผนผู้สูงอายุเเห่งชาติเเละจริยธรรมในการดูเเลผู้สูง…
หน่วยที่ 7 นโยบายกฎหมายเเผนผู้สูงอายุเเห่งชาติเเละจริยธรรมในการดูเเลผู้สูงอายุ
1.เส้นทางนโยบาย กฏหมาย ที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุไทย
1.1 เส้นทาง(timeline) ของนโยบาย กฏหมาย ที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุไทย
พ.ศ 2525
องค์กาสหประชาชาติได้จัดประชุมสมัชชาผู้สูงอายุ ณ กรุงเวียนนา
แผนผู้สูงอายุเเห่งชาติฉบับที่ 1 (พ.ศ 2525-2544) ในการดำเนินการด้านผู้สูงอายุในประเทสไทยนั้น
พ.ศ 2540
ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญเเห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ 2540 มีมาตราเกี่ยวข้อง 2 มาตราคือ มาตรที่ 54 เเละ มาตราที่ 80 วรรค 2
พ.ศ 2541
มีการรับรอง ปฎิญญมเก๊า โดยคณะกรรมาธิการเศรษกิจเเละสังคมภูมิภาคเอเชีย
พ.ศ 2542
ระเบียบนี้ทำให้เกิด "คณะกรรมการการส่งเสริมเเละประสานงานผู้สูงอายุเเห่งชาติ " โดยย่อว่า "กสผ"
พ.ศ 2545
ได้มีการจัดทำเเผนผู้สูงอายุเเห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ 2545-2564 ) ซึ่งเป็นเเผนที่ทุกกระทรวง ทบวง กรม ถือปฏิบัติในขณะนี้
พ.ศ 2546
ได้มีการจัดทำเเละประกาศใช้ พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ 2546
พ.ศ 2550
เกี่ยวข้อง 2 มาตรา คือ มาตราที่ 53 บัญญัติว่า "บุคคล ซึ่่งมีอายุเกินหกสิบปี่บริบูรณ์ มีสิทธิได้รับสวัสดิการ
มาตราที่ 80 วรรค 2 "รัฐต้องคุ้มครองเเละพัฒนาเด็กเละเยาวชน"
2.กฏหมายนโยบายที่เกี่ยวข้องโดตรงกับผู้สูงอายุไทย
ปฎิญญาผู้สูงอายุไทย
ปีพุทธศักราช 2542 เป็นวโรกาศที่พระบามสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชการที่ 9 ได้ตระหนักถึงศักดิ์ศรีเเละคุณค่าของผู้สูงอายุ ซึ่งได้ทำประโยชน์ในฐานะ "ผู้ให้"
พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ 2546
เหตุผล : ผู้สูงอายุให้มีสิทธิได้รับความช่วยเหลือจ่กรัฐ
วัตถุประสงค์ : เพื่อให้การดำเนินงานเกี่ยวกับการคุ้มครองการส่งเสริม
แผนผู้สูงอายุเเห่งชาติฉบับที่ 1 พ.ศ 2525-2544
"แผนการผูสูงอายุฉบับที่ 2 มองว่าผู้สูงอายุเป็นบุคคลที่ได้ทำคุณประโยชน์ต่อสังคมเเละสมควรได้รับการตอบเเทน"
แผนผู้สูงอายุเเห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ 2545-2564
วิสัยทัศน์ : "ผู้สูงอายุเป็นหลักชัยของาังคม"
วัตถุประสงค์
เพื่อสร้างจิตสำนึกให้คนในสังคมตระหนักถึงผู้สูงอายุ
เพื่อให้ประชาชทุกคนตระหนักถึงความสำคัญของการเตรียมการเเละมีการเตรียมเข้าสู่การเข้าสู้ผู้สูงอายุอย่างมีประสิทธิภาพ
เพื่อให้ผู้สูงอายุดำำรงชีวิตอย่างมีศักดิ์ศรี
แผนผู้สูงอายุเเห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ 2545-2564 ฉบับที่ 1 พ.ศ 2552
การปรับปรุงครั้งที่ 2 นี้เกิดขึ้นจากกระเเสวิชาการ ที่เห็นถึงปัญหาการดำเนินงานเเละผลการประเมิณในช่วง 5 ปี ที่ไม่ผ่นเกณฑ์การประเมิณ
สิทธิของผู้สูงอายุตามหลักการขององค์การสหประชาชาติ
การมีส่วนร่วม
การอุปการเลี้ยงดู
การมีอิสระภาพ
การบรรลุความต้องการ
ความมีศักดิ์ศรี
3.กฤหมายนโยบายอื่นๆของประเทศที่เกี่ยวข้องกับการเตรียมความพร้อมของประชากรในการเข้าสู่วัยสูงอายุอย่างมีคุณภาพ
นโยบาย กฏหมายที่เกี่ยว้องกับการสร้างหลักประกันด้านสุขภาพเเละหลักประกันด้านรายได้
ปี พ.ศ 2471 พระราชบัญญัติข้าราชการพลเรือน พ.ศ 2471
ปี พ.ศ 2530 พระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ 2530
ปี พ.ศ 2533 พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ 2533
ปี พ.ศ 2539 พระราชบัญญัติข้าราชการพลเรือน กองทุนบำเน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ 2539
ปี พ.ศ 2554 พระราชบัญญัติการออมเเห่งชาติ (กอช) พ.ศ 2554
ปี พ.ศ 2544 กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (Retirement Mutual Fund ; RMF)
ปี พ.ศ 2547 กองทุนรวมหุ้นระยะยาว(Long Term Equity Fund ; LTF)
4.ปัญหาจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลผู้สูงอายุ
การพยาบาลเเละองค์กระะกอบทางจริยธรรมในการช่วยเหลือผู้สูงอายุ
ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุดูเเลตนเองได้
ปฏิบัติกับผู้สูงอายุเท่าเทียมกับคนอื่น
ใช้หลักเมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา
ศึกษาหาความรู้ในการดูเเลให้คำเเนะนำผู้สูงอายุ
ยอมรับความสูงอายุว่าเป็นการเปลี่ยนเเปลง
รักเเละศรัทธาในวิชาชีพ
ให้ความยกย่อง
ประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ
1พินัยกรรม
2.การพยาบาลผู้ป่วยระยะสุดท้าย (End of life care)
3.เมตตามรณะ (Euthanasia)
การจดบันทึกเเละการรายงาน
นางสาวเจนจิรา สันโดด รหัส 621201115 ชั้นปีที่ 3