Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การออกแบบการเลือกตัวอย่าง, สมาชิกในกลุ่มที่ 2 - Coggle Diagram
การออกแบบการเลือกตัวอย่าง
การกำหนดขนาดตัวอย่าง (Sample Size Determination)
1) ตารางสำเร็จของ Yamane พัฒนาเมื่อปี ค.ศ. 1967
N = ขนาดตัวอย่าง
N = ขนาดกลุ่มประชากร
E = ระดับความ แตกต่างของค่าสถิติกับพารามิเตอร์ (Error = E)
2) ตารางสำเร็จของ Krejcie & Morgan ได้พัฒนาขึ้นจาก Yamane
3) ชุดของตารางสำเร็จที่ใช้ในการทดสอบค่าสถิติหลายวิธี ของ Cohen
4) วิธีการกำหนดขนาดตัวอย่างโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์
การใช้โปรแกรม G*Power
1) เลือกวิธีการวิเคราะห์ทางสถิติที่เหมาะสมกับปัญหาวิจัยที่ต้องการจากเมนูหลักซึ่งมีสถิติ
ให้เลือกใช้ 5 กลุ่ม (T, Z, F, X^2) หรือ Exact Test) แต่ละกลุ่มมีสถิติ ทดสอบอีกหลายประเภท
2) เลือกวิธีการวิเคราะห์อำนาจการทดสอบหนึ่งในห้าแบบข้างต้น
3) ป้อนข้อมูลสำหรับการวิเคราะห์ขนาดตัวอย่างตามที่กำหนดไว้
ค่าขนาดอิทธิพล (Effect Size)
ความน่าจะเป็น ของความคลาดเคลื่อนในการทดสอบประเภทที่หนึ่ง = แอลฟา
อำนาจการทดสอบ = (1 – ความน่าจะเป็นของ ความคลาดเคลื่อนในการ
ทดสอบประเภทที่สอง) = (1-เบต้า) :
อัตราส่วนของการจัดสรรขนาดตัวอย่าง (Allocation Ratio) = N2/N1 ซึ่ง
นิยมก าหนดให้มีขนาดกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มเท่ากัน โดย N2/N1 = 1
4) คลิกปุ่ม Calculate ที่หน้าต่าง โปรแกรมเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ
ตัวอย่าง
โจทย์ นักวิจัยวางแผนการทดลองให้มีกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่ม มีขนาดตัวอย่างเท่ากัน เพื่อทดลองอิทธิพลของวิธีการเรียนการสอนสองวิธีที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้การทดลองแบบทางเดียว
กรณีที่ 1 นักวิจัยทราบค่าอิทธิพลหรือประมาณค่าอิทธิพล D = .05 อยู่ในระดับปานกลาง
ป้อนข้อมูล
ประมาณค่าขนาดตัวอย่าง
เลือกประเภทของการทดสอบ
อ่านผลการ วิเคราะห์จากโปรแกรม G*Power
เลือกกลุ่มการทดสอบ
กรณีที่ 2 นักวิจัยไม่รู้ค่าขนาดอิทธิพล แต่รู้ค่าสถิติจากผลการวิจัยในอดีตว่า
เลือกกลุ่มการทดสอบ
เลือกประเภทของการทดสอบ
ป้อนข้อมูลแบบเดียวกับแบบที่หนึ่ง ยกเว้นค่า ขนาดอิทธิพล ซึ่งจะให้โปรแกรมคำนวณให้
ประมาณค่าขนาดอิทธิพลโดยการป้อนค่าสถิติได้แก่ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของกลุ่มตัวอย่างทั้งสองกลุ่ม และป้อนผลการประมาณค่าขนาดอิทธิพลใส่โปรแกรม
ประมาณค่าขนาดตัวอย่าง
อ่านผลการวิเคราะห์จากโปรแกรมG*Power
เทคนิคการเลือกหน่วยตัวอย่างโดยอาศัยความน่าจะเป็น
การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น
ศึกษาลักษณะของประชากรของเรื่องที่จะวิจัย
ทำการแบ่งกลุ่มย่อยตามลักษณะที่แตกต่าง
สุ่มตัวอย่างจากประชากรแต่ละกลุ่มย่อยเข้ามาเป็นกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีสุ่มอย่างง่าย
ข้อดี
ได้กลุ่มตัวอย่างที่มีคุณลักษณะของประชากรอย่างเป็นระบบ ลดความคลาดเคลื่อน แต่ไม่ลดขนาดกลุ่มตัวอย่าง ทำให้การทดสอบทางสถิติมีประสิทธิภาพสูงขึ้น ควบคุมตัวแปรแทรกซ้อนได้
กลุ่มตัวอย่างที่ได้มีการเป็นตัวแทนประชากรย่อย
สามารถเลือกใช้วิธีการสุ่มที่แตกต่างกันในแต่ละชั้น
ข้อเสีย
การแบ่งประชากรเป็นประชากรย่อยอาจปฏิบัติได้ยาก ขาดขอบเขตที่ชัดเจน
หากจำนวนตัวแปรที่ใช้มากเกินไปจะทำให้มีจำนวนชั้นที่มากและยุ่งยากในการแบ่งชั้น ทำให้เสียเวลา และมีค่าใช้จ่ายสูง
การสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย
วิธีใช้คอมพิวเตอร์ในการสุ่ม
วิธีจับฉลาก
วิธีการใช้ตารางเลขสุ่ม
ข้อดี
ง่าย สะดวกต่อการนำไปใช้
ไม่ต้องการข้อมูลสนับสนุน
ไม่จำเป็นต้องมีการพัฒนาในเชิงเทคนิคที่ซับซ้อน
ปัญหาในการประมาณค่าต่างๆมีน้อย
ข้อเสีย
ถ้ากรอบตัวอย่างมีข้อมูลสนับสนุนอื่นๆ การใช้การสุ่มตัวอย่างอย่างง่ายจะมีประสิทธิภาพน้อยกว่าการเลือกตัวอย่างด้วยวิธีอื่น
ค่าใช้จ่ายสูงในกรณีที่ใช้พนักงานไปสัมภาษณ์
เป็นไปได้ที่จะได้ตัวแทนที่ไม่ดี
การสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ
การเลือกหน่วยตัวอย่างที่ได้มีการเรียงลำดับอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว
เลือกหน่วยตัวอย่างแรกแบบสุ่ม
ข้อเสีย
การเลือกตัวอย่างแบบมีระบบจะมีประสิทธิภาพน้อยกว่าการเลือกตัววอย่างด้วยวิธีอื่น
ในกรณีที่ไม่มีกรอบตัวอย่างจะทำให้ไม่ทราบขนาดตัวอย่างล่วงหน้า
ถ้าขนาดตัวอย่าง (N) ไม่สามารถหารขนาดประชากร (N) ได้ลงตัว อาจทำให้ได้ขนาดตัวอย่างที่ไม่แน่นอนตามที่กำหนดไว้ล่วงหน้า
ต้องคำนึงถึงลักษณะการเรียงข้อมูล
ข้อดี
เเป็นตัวแทน (Proxy)ทของการเลือกตัวอย่างอย่างง่ายในกรณีที่ไม่มีกรอบตัวอย่างง
ไม่ต้องการข้อมูลสนับสนุนอื่นๆในกรอบตัวอย่าง
ตัวอย่างที่เลือกจะได้มีการกระจายไได้มากกว่าการเลือกตัวอย่างอย่างง่าย
ง่ายและสะดวกกว่าตัวอย่างอย่างง่าย
การคำนวณค่าประมาณง่าย ไม่ซับซ้อน
การสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่มหรือแบ่งพื้นที่
ดัดแปลงมาจากวิธีการสุ่มอย่างง่าย
ข้อดี
ประหยัดเวลา แรงงานและงบประมาณในการเตรียมการและดำเนินการ
ปฏิบัติได้ง่ายและสะดวก แม้จะไม่มีรายชื่อสมาชิกทุกหน่วยของประชากร
ข้อเสีย
ยากที่จะหากลุ่มที่มีลักษณะความหลากหลายภายใน และมีความเท่าเทียมกันระหว่างกลุ่ม
ประสิทธิภาพของกลุ่มตัวอย่างมีประสิทธิภาพต่ำเนื่องจากภายในกลุ่มแต่ละกลุ่มที่แบ่งกลุ่มยังมีความเป็นเอกพันธ์ค่อนข้างสูง จะทำให้ความคลาดเคลื่อนมาตรฐานมีค่าสูงมากขึ้น
การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน
ผสมผสานววิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างสุ่มหลายวิธีมาใช้ด้วยกันตามความเหมาะสม
ถ้าใช้การสุ่ม 2 ครั้ง เรียก Two-stage Sampling ถ้า 3 ครั้ง ก็เป็นThree-stage Sampliing
เทคนิคการเลือกหน่วยตัวอย่างโดยไม่อาศัยความน่าจะเป็น
การสุ่มโดยความบังเอิญ/สะดวก (Acciden Sampling or Hapazard or Convenience Sampling)
ไม่เป็นตัวแทนของประชากรอย่างมากๆ
สะดวก ง่าย ประหยัด
เป็นการเลือกหน่วยตัวอย่างที่ไม่มีหลักเกณฑ์
การสุ่มแบบโควต้าหรือการสุ่มโดยกำหนดสัดส่วน (Quota Sampling)
นักสถิได้ทำการจำแนกประชากรออกเป็นส่วนย่อยๆ
เป็นการเลือกหน่วยตัวอย่างที่พบบ่อยที่สุด
การสุ่มอย่างเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling OR Judgmental Sampling)
เป็นการเลือกตัวอย่างโดยใช้ดุลพินิจและการตัดสินใจของนักสถิติเป็นหลัก
นักสถิติต้องเป็นผู้ที่มีความรอบรู้ ความชำนาญ และประสบการณ์
การสุ่มตัวอย่างแบบลูกโซ่ หรือ แบบโสนว์บอล
เป็นการสุ่มตัวอย่างโดยอาศัยการแนะนำของหน่วยตัวอย่างที่ได้เก็บข้อมูลไปแล้ว
กลุ่มตัวอย่างจะเพิ่มขึ้นทุกครั้งที่ได้ไปสัมภาษณ์เก็บข้อมูล
การเปรียบเทียบการเลือกตัวอย่าง
โดยอาศัยความน่าจะเป็น
ข้อดี
ทุกหน่วยมีโอกาสถูกเลือกเป็นหน่วยตัวอย่าง
อ้างอิงไปยังประชากรได้
ไม่ลำเอียง/เอนเอียง
ควบคุมความคลาดเคลื่อนที่เกิดจากการเลือกตัวอย่าง(Sampling Error)
ข้อเสีย
มีขั้นตอนที่ยุ่งยาก
โดยไม่อาศัยความน่าจะเป็น
ข้อดี
รวดเร็ว
ประหยัดค่าใช้จ่าย
สะดวก
ข้อเสีย
ลำเอียง/เอนเอียง
ไม่สามารถอ้างอิงไปยังประชากรได้ สรุปอยู่เพียงขอบเขตของกลุ่มตัวอย่างเท่านั้น
หน่วยตัวอย่างที่ได้นั้นขั้นอยู่กับการตัดสินใจของนักสถิติ และองค์ประกอบบางตัวไม่สามารถควบคุมได้ ไม่มีวิธีการทางสถิติที่จะมาคำนวณความคลาดเคลื่อนที่เกิดจากการสุ่มกลุ่มตัวอย่างได้ (Sampling Error)
คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบการเลือกตัวอย่าง
ประชากร (Population)
กลุ่มของสิ่งมีชีวิตหรือไม่มีชีวิตทั้งหมดที่ต้องการศึกษา หาข้อมูล ซึ่งต้องกำหนดให้ชัดเจนในการศึกษา
ประชากรที่สามารถหาจำนวนที่แน่นอนได้
ประชากรที่ไม่สามารถหาจำนวนที่แน่นอนได้
กลุ่มตัวอย่าง (Sample)
กลุ่มของหน่วยตัวอย่างบางหน่วยที่ถูกเลือกมาเป็น ตัวแทนของประชากรตามขนาดตัวอย่างที่กำหนดไว้
ขนาดตัวอย่าง (Sample Size)
จำนวนหน่วยในประชากรที่ถูกเลือกขึ้นมาให้เป็นตัวแทนของประชากรที่ต้องการศึกษา
สัญลักษณ์ที่ใช้แทนขนาดตัวอย่าง คือ N
สถิติ (Statistic)
ข้อมูลที่ได้จากการวัดหรือการสังเกตจากกลุ่มตัวอย่าง
พารามิเตอร์ (Parameter)
ค่าคงที่ที่แสดงคุณลักษณะของประชากร
กรอบตัวอย่าง (Sampling Frame)
บัญชีรายชื่อที่แสดงหน่วยทุกหน่วยที่ประกอบกัน เป็นประชากรที่ต้องการศึกษา
เลือกหน่วยตัวอย่างจากหน่วยทุกหน่วยในบัญชีนี้ตามวิธี และขนาดตัวอย่างที่ก าหนดไว้
เหตุผลที่ส่วนใหญ่นิยมทำการเลือกกลุ่มตัวอย่าง
ลดค่าใช้จ่าย
การเก็บรวบรวมข้อมูลจากประชากร ที่มีขนาดเล็กกว่าขนาดใหญ่
ค่าใช้จ่ายก็ย่อมน้อยกว่า
ทำได้รวดเร็วกว่า
ปริมาณงานที่ต้องเก็บรวบรวมข้อมูลมีจำนวนที่น้อยกว่าจึง
สามารถปฏิบัติงานได้รวดเร็ว
นำเสนอผลการสำรวจได้ทันต่อสถานการณ์
ครอบคลุมเนื้อหาสาระที่ต้องการศึกษาได้มากกว่าหนึ่งเรื่องในเวลาเดียวกัน
มีความถูกต้องแม่นยำและเชื่อมั่นได้มากกว่า
เป็นไปได้ในทางปฏิบัติ
สามารถศึกษาข้อมูลได้กว้างขวางและลึกซึ้งกว่า
ตัวอย่างงานวิจัย
โดยอาศัยความน่าจะเป็น
ตัวอย่างงานวิจัยที่ใช้การสุ่มอย่างง่าย
การพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมเรื่องการประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริงโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานสำหรับครูวิทยาศาสตร์ประถมศึกษา
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของหลักสูตรฝึกอบรมที่พัฒนาขึ้นและผลการ ใช้หลักสูตรฝึกอบรมที่พัฒนาขึ้น
งานวิจัยนี้ใช้การสุ่มอย่างง่ายแบบเป็นรายชื่ออย่างแท้จริง
ผู้วิจัย อมรา เขียวรักษา ปีที่พิมพ์ 2548
การสุ่มตัวอย่างอย่างมีระบบ
การพัฒนาและการประเมินผลการใช้โปรแกรมประยุกต์สำหรับการพัฒนาตนเองของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
ชื่อผู้วิจัย นายธเนศ คิดรุ่งเรื่อง ปีที่พิมพ์ 2551
วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาโปรแกรมประยุกต์สำหรับการพัฒนาตนเองของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
การสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างวิสัยทัศน์และภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมจังหวัดอ่างทอง
ผู้วิจัย ทองคำ พิมพา ปีที่พิมพ์ 2556
วัตถุประงค์ เพื่อ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างวิสัยทัศน์กับการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมจังหวัดอ่างทอง/ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเการเปลี่ยนแปลงกับการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมจังหวัดอ่างทอง
การสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่มหรือแบ่งพื้นที่
การจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ SSCS เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาทาง คณิตศาสตร์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่องบทประยุกต์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ผู้วิจัย นริศรา ส าราญวงษ์, อาพันธ์ชนิต เจนจิต และ คงรัฐ นวลแปง ปีที่พิมพ์ 2560
วัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์และผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนคณิตศาสตร์เรื่องบทประยุกต์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังได้รับการจัดการ เรียนรู้ด้วยรูปแบบ SSCS กับเกณฑ์ร้อยละ 75
งานวิจัยทางการศึกษาส่วนใหญ่ที่ท าวิจัยเกี่ยวกับการเรียนการสอนที่มีประชากรจัดเป็น ห้องเรียน จะใช้การสุ่มแบบกลุ่ม
การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน
ความคิดเห็นของนักศึกษาการศึกษานอกโรงเรียน ในเขตกรุงเทพมหานคร ต่อ E-Learning ของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ผู้วิจัย ขวัญหล้า เกตุฉิม และคณะ ปีที่พิมพ์ พ.ศ. 2552
วัตถุประสงค์
เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาการศึกษานอกโรงเรียน ในเขตกรุงเทพมหานครต่อ ELearning ของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ใน 3 ด้าน คือ ด้าน องค์ประกอบของบทเรียน ด้านรูปแบบการเรียน และด้านการใช้งาน
เพื่อเปรียบเทียบความ คิดเห็นของนักศึกษาการศึกษานอกโรงเรียนในเขตกรุงเทพมหานคร ต่อ E-Learning ของส านักงาน ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จำแนกตาม เพศ อายุ สถานภาพสมรส อาชีพ รายได้ ระดับการศึกษา สถานที่ใช้อินเตอร์เน็ตของนักศึกษา
จำนวนประชากรมีขนาดใหญ่ และเพื่อให้ได้กลุ่มตัวอย่างเพื่อเป็นตัวแทนที่ดีและสามารถนำไปตอบวัตถุประสงค์การวิจัยได้จึงต้องทำการสุ่มแบบหลายขั้นตอน
โดยไม่อาศัยความน่าจะเป็น
ตัวอย่างงานวิจัยที่ใช้การเลือกแบบบังเอิญ
การจัดการแหล่งเรียนรู้ของจิ๋วเพื่อการเรียนรู้วิถีชีวิตไทย
ชื่อผู้วิจัย นางสาวบุษกร เข่งเจริญ ปีที่พิมพ์ 2553
วัตถุประสงค์
เพื่อศึกษาการบริหารงานขอศูนย์ตุ๊กตาชาววังบ้านบางเสด็จจังหวัดอ่างทองในฐานะเป็นแหล่งเรียนรู้วิถีชีวิตไทย
เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดการแหล่งเรียนรู้ของจิ๋วเพื่อการเรียนรู้วิถีชีวิตไทยของศูนย์ตุ๊กตาชาววังบ้านบางเสด็จจังหวัดอ่างทอง
ข้อสังเกต นักวิจัยมีหลักในการให้เหตุผลการเลือกกลุ่มตัวอย่างได้สมเหตุสมผล
เลือกใช้การเลือกแบบเจาะจง
แบบเรียนภาษาไทยเชิงวัฒนธรรม เรื่อง “กล้วยกับวิถีชีวิตไทย” สำหรับผู้เรียนชาวต่างประเทศ
วิยะดา เมืองโคตร ปีที่พิมพ์ 2559
วัตถุประสงค์
เพื่อสร้างแบบเรียนภาษาไทยเชิงวัฒนธรรม เรื่อง “กล้วยกับวิถีชีวิต
ไทย” สำหรับผู้เรียนชาวต่างประเทศ
หาประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่ก าหนดไว้ตามประสิทธิภาพที่
กำหนดไว้คือ 80/80
ข้อสังเกต งานวิจัยนี้ศึกษากับผู้เรียนชาวต่างประเทศจึงต้องเฉพาะเจาะลงไปที่นักศึกษาชาวต่างชาติ
ตัวอย่างงานวิจัยที่ใช้เลือกแบบเจาะจงและแบบสโนวบอล/ลูกโซ่
ผู้วิจัย อานุภาพ ถูปาอ่าง และลิซ่าลูคัส ปีที่พิมพ์ 2560
วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อศึกษาเกี่ยวกับการรับรู้และประสบการณ์ของคณาจารย์มหาวิทยาลัยต่อคุณภาพการสอนและการประกันคุณภาพการศึกษาของการอุดมศึกษาไทย
ข้อสังเกต งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพต้องนั้นกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ให้ข้อมูลจึงต้องเฉพาะเจาะจงตามหลักของการวิจัยเชิงคุณภาพ
การเลือก/สุ่มตัวอย่าง
สมาชิกในกลุ่มที่ 2
นางสุคนธา ณรงค์เดชา เลขที่ 3
นางสาวกาญจนา หมัดสะริ เลขที่ 21
นางสาวพัชรา กาจุลศรี เลขที่ 11
นางสาวเนตรนภิส สุขปลั่ง เลขที่18
นางสาวสุภาภรณ์ สว่างภักดิ์ เลขที่ 22
นางสาวนฤทัย ลา เลขที่ 9