Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ระบบประสาท กล้ามเนื้อ และกระดูก -…
บทที่ 7 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ระบบประสาท กล้ามเนื้อ และกระดูก
7.4 การพยาบาลเด็กที่มีการติดเชื้อในระบบสมอง (Intracranial infection)
เยื้อหุ้มสมองอักเสบ (Meningitis)
เป็นการติดเชื้อในเยื่อหุ้มสมอง (Meningitis)
บริเวณส่วนที่เป็นเมมเบรน ปกป้องหุ้มเนื้อสมองและไขสันหลัง
สาเหตุได้ 5 อย่างคือ
1.Bacterial meningitis ที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย
Purulent meningitis เยื่อหุ้มสมองอักเสบชนิดเป็นหนอง
Tuberculosis meningitis เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อวัณโรค
Viral meningitis หรือ Aseptic meningitis เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากไวรัส
Eosinophilic meningitis เกิดจากพยาธิ เช่น ตัวจี๊ด
fungal meningitis การติดเชื้อรา
non-infection diseases ปฏิกิริยาที่ไม่ใช่การติดเชื้อ
เนื้องอก (Malignancy)
การบาดเจ็บ/กระทบกระเทือนของสมอง (trauma) การได้รับสารพิษ จากตะกั่ว ปรอท
เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อแบคทีเรีย
การติดเชื้อผ่านทางกระแสโลหิต หรือ การติดเชื้อลุกลามโดยตรง และได้รับเชื้อโดยตรงจากการเปื้อนของเชื้อ นำไปสู่ Subarachnoid Space ได้
อาการและอาการแสดง
อาการที่แสดงว่ามีการติดเชื้อ คือ มีไข้สูง หนาวสั่น เบื่ออาหาร ในเด็กเล็ก จะกระสับกระสายไม่ยอมกินนม
อาการที่แสดงว่ามีการระคายของเยื้อหุ้มสมอง คือ จะมีอาการปวดศีรษะมาก และปวดที่บริเวณคอด้วย ถ้ายังไม่ได้รับการรักษาอาจถึงขั้น หมดสติ หรือ ชัก
อาการที่แสดงถึงภาวะแทรกซ้อน เช่น สมองบวม มีน้ำหรือหนองในใต้ช่องเยื้อหุ้มสมอง
การรักษา
การรักษาทั่วไปตามอาการและการรักษาแบบประคับประคอง คือ ให้ยาลดไข้เมื่อมีไข้สูง ให้ยานอนหลับเพื่อลดอาการกระสับกระส่าย ให้ยากันชักในผู้ป่ วยที่มีอาการชักเกร็ง ให้ยาลดอาการบวมของสมองในผู้ป่วย ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เจาะคอ หรือใช้เครื่องช่วยหายใจในผู้ป่วยที่มีปัญหาการหายใจ หรือภาวะหมดสต
. การรักษาภาวะแทรกซ้อน
ของเหลวคั่งในช่องใต้เยื่อหุ้มสมอง
ฝีในสมอง
ความดันในกะโหลกศีรษะสูง
การมองเห็นและการได้ยินผิดปกต
การรักษาเฉพาะ โดยทั่วไปแพทย์จะให้ยาต้านจุลชีพหรือยาปฏิชีวนะ
สอดคล้องกับผลการเพาะเชื้อน้ำไขสันหลังที่เป็นสาเหต
การพยาบาลผู้ป่วยผู้ป่วยเด็กที่มีการติดเชื้อของระบบประสาท
มีภาวะความดันสูงในกะโหลกศีรษะและเสี่ยงตอการเกิดอันตรายจากการชัก
การพยาบาล คือ ดูแล ให้การพยาบาลผู้ป่วยเด็ยที่มี ICP และอาการชัก ให้ยาปฏิชีวนะ และสังเกตุอาการข้างเคียงของยา ดูแลผู้ป่ วยก่อนและหลังการผ่าตัดเกี่ยวกับทางสมอง
อาจได้รับสารอาหารและน้ำไม่เพียงพอ จากพยาธิสภาพทางสมองและการได้รับยาขับน้ำ การพยาบาล ประเมินน้ำหนักตัวและภาวะขาดน้ำ ประเมินและบันทึก I/O ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวข้อง ดูแลการได้รับน ้าและสารอาหาร และดูแลภาวะไม่สุขสบายจากสภาพของโรค
ไข้สมองอักเสบ (Encephalitis)
เป็นการอักเสบของเนื้อสมอง บางครั้งการอักเสบของเนื้อสมองอาจมีการอักเสบของเนื้อเยื่อหุ้มสมองและไขสันหลังเกิดร่วมด้วยก็ได้
สาเหตุ
Primary viral encephalitis หมายถึง การที่มีไวรัสเข้าไปสู่สมองแล้วทำให้เกิดการอักเสบขึ้น
Japanease B. Virus หรือ ไวรัสเริม หรือ ไวรัสโรคพิษสุนัขบ้า
Secondary viral encephalitis หมายถึง การที่มีสมองอักเสบโดยเป็นผลมาจากปฏิกิริยาที่มีไวรัสเข้าสู่ร่างกาย
พยาธิสภาพ
เชื้อจะเพิ่มจ านวนในบริเวณที่เข้าไป แล้วผ่านเข้าสู่สมองโดยมี
ระยะเชื้ออยู่ในกระแสเลือดสั้นมาก พบมี สมองบวมมาก เลือดคั่ง มีเลือดออกเป็นหย่อม ๆ ในเนื้อสมอง อาจจะเกิดกับ ระบบประสาทส่วนกลาง
อาการและอาการแสดง
ไข้ มักสูงได้มาก ๆ ปวดศีรษะ ปวดต้นคอ คอแข็ง
ซึมลง จนกระทั่งถึงขั้นโคม่า ภายใน 24 –72 ชั่วโมง
ชัก มีการเคลื่อนไหวผิดปกติ (Involuntary movement)
กระสับกระส่าย อารมณ์ผันแปร เพ้อคลั่ง
การหายใจไม่สม ่าเสมอ อาจหยุดเป็นห้วง ๆ
การรักษา
ไม่มีการรักษาเฉพาะโรค แต่จะเป็นการรักษาแบบประคับประคอง คือ 1.ดูแลระบบหายใจของผู้ป่วยให้ปกติ และหายใจสม่ำเสมอ
2.การให้ยา ยาระงับชัก เช่น Phenobarbital ยากันชักชนิดฉีดเข้ากล้ามเนื้อเช่น Gardinal ยาป้องกันและรักษาความสมองบวม ยานอนหลับ ยา acyclovir ทางหลอดเลือดดำ ยาลดไข้ ยาต้านจุลชีพหรือยาปฏิชีวนะ
รักษาสมดุลของปริมาณน้ำเข้า-ออกของร่างกาย
4.การให้สารสารอาหารที่มีแคลอรีเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย