Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้สารเสพติดในสตรีมีครรภ์ Drug addiction pregnancy - Coggle Diagram
การใช้สารเสพติดในสตรีมีครรภ์
Drug addiction pregnancy
ความหมาย
การใช้ยาเสพติดหรือสารเสพติด
ในสตรีมีครรภ์
สาเหตุ
1.อยากรู้ อยากลอง
2.ความเชื่อผิดๆ
3.อายุน้อย
4.สภาพเเวดล้อมที่อยู่อาศัย
5.ถูกล่อลวง
6.มีปัญหาครอบครัว
7.ขาดความรู้ รู้เท่าไม่ถึงการณ์
ผลกระทบ
มารดา
ร่างกาย
2ติดเชื้อจากการฉีดสารเสพติดเข้าทางหลอด
เลือดดำโดยเฉพาะเชื้อ hepatitis B และ HIV
3.โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
1.มาฝากครรภ์ไม่สม่ำเสมอ
ทำให้ไม่ได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยง
4.ผลกระทบจากสารเสพติดที่ใช้ทำให้เกิด
ภาวะความดันโลหิตสูง
หัวใจเต้นเร็วผิดปกติ เหลอดเลือดในสมอง
และเกิดภาวะหัวใจล้มเหลว
จิตสังคม
มีความทนต่อความเจ็บปวด
มองภาพลักษณ์ตนเองไม่ดี
มีสัมพันธภาพไม่ดีกับทารก
มีการปรับตัวต่อบทบาทการเป็นมารดาไม่เหมาะสม
5.ไม่มีความพร้อมต่อการเลี้ยงดูบุตร
ทารก
แท้ง
คลอดก่อนกำหนด
MAS
พิการแต่กำเนิด
หัวใจเต้นเร็ว กระสับส่าย ร้องไห้ตลอดเวลา
อายุไขสั้น
ร่างกายไม่แข็งแรง
สารเสพติดที่นิยมใช้ในปัจจุบัน
1.กลุ่มที่กระตุ้นการทำงานของระบบประสาท
(central nervous system stimulants)
ได้แก่ โคเคน ยาบ้า สารนิโคตินใรบุหรี่
ออกฤทธิ์ไปที่ประสาทส่วนกลางนิโคตินจับกับตัวรับนิโคตินทำให้หลังโดปามีนออกมาก ทำให้มีความสุข สบายใจ อารมณ์ดี
กลุ่มที่กดการทำงานของระบบประสาท
(central nervous system depressants)
เช่นกัญชา เฮโรอีน ฝิ่น มอร์ฟีน แอลกอฮอล์
ออกฤทธิ์กดประสาท สารบางตัวหลอนประสาท
หรือกระตุ้นประสาทเช่น กัญชา เฮโรอีน และฝิ่นจะ
ออกฤทธิ์หลอนประสาทส่วนมอร์ฟีนจะออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท
การพยาบาล
1.ระยะตั้งครรภ์
3.ประเมินภาวะแทรกซ้อน
4.อธิบายให้เห็นถึงการมากฝากครรภ์ตามนัด
2.ให้คำแนะนำในการหยุดใช้สารเสพติด
5.แนะนำการรับประทานอาหารและการปฏิบัติตัว
1.อธิบายผลกระทบ
3.ระยะหลังคลอด
1.ถ้าสตรียังคงมีการใช้สารเสพติดในระหว่างการตั้งครรภ์ อาจไม่สามารถเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา
2.ก่อนกลับบ้านประเมินความสามารถในการดูแลทารก
และแหล่งสนับสนุนช่วยเหลือ
3.อธิบายให้เห็นความสำคัญของการคุมกำเนิดและให้คุมกำเนิดทันที
4.สนับสนุนช่วยเหลือเรื่องการหยุดใช้สารเสพติดต่อเนื่อง
2.ระยะคลอด
1.ดูแลบรรเทาความเจ็บปวด
2.รายงานเเพทย์เพื่อเตรียมดูแลทารกแรกเกิด
ซึ่งอาจมีอาการภาวะขาดยา
การวินิจฉัย
1.ซักประวัติและสังเกต
2.ตรวจร่างกาย
3.ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การดูแลเเละการรักษา
1.สืบค้นสตรีครรภัทุกรายที่ว่ามีการ ใช้สารเสพติดในขณะตั้งครรภ์หรือไม่
2.ตรวจคัดกรองความผิดปติและ
ประเมินการเจริญเติบโดของทารกในครรภ์
3.ถ้าพบความพิการหรือความผิดปกติ
แต่กำเนิดของทารก พิจารณายุติการตั้งครรภ์
4..ถ้ามีภาวะแทรกซ้อนเกิดขึ้น
ให้การดูแลตามแนวทางการรักษาภาวะแทรกซ้อนนั้นๆ
ส่งเสริมการปรับตัว
1.สร้างสัมพันธภาพกับหญิงตั้งครรภ์และครอบครัว
2.เปิดโอกาสให้พูดคุยระบายความในใจ
และร่วมวางแผนดูแลทารก
3.ให้การดูแลด้านจิตสังคม
ติมตามเยี่ยมบ้าน
4.แนะนำการดูแลตนเองและ
เตรียมความพร้อมสำหรับเลี้ยงทารก