Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบประสาท กล้ามเนื้อและกระดูก…
บทที่ 7 การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบประสาท กล้ามเนื้อและกระดูก
7.1 การพยาบาลเด็กที่มีอาการชัก
โรคลมชัก (Epilepsy)
การชัก (Seizure) เป็นอาการที่เกิดขึ้นอย่างเฉียบพลัน
อาการชกับางชนิดเช่น Infantile Spasm ไม่พบในผู้ใหญ่
Epilepsy (โรคลมชัก)
Convulsion (อาการเกร็งและ/หรือกระตุก
Seizure (อาการชัก)
Status epilepticus ชัก
ต่อเนื่องนานมากกวา่ 30 นาที
สาเหตุ
โรคบาดทะยัก
ภาวะไข้สูงในเด็กเล็ก
เนื้องอกในกะโหลกศีรษะ
ความผิดปกติของสมองโดยก าเนิด เช่น Hydrocephalus
ภาวะผิดปกติทางไต เช่น Uremia
โรคลมบ้าหมู/โรคลมชัก (Epilepsy)
ภาวะผิดปกติทาง metabolism เช่น Hypocalcemia, Hypoglycemia
ภาวะเลือดออกในกะโหลกศีรษะ
ภาวะติดเชื้อที่กะโหลกศีรษะ เช่น เยื่อหุ้มสมองอักเสบ สมองอักเสบ
ชนิดและลักษณะเฉพาะของภาวะชัก
2.Generalized seizure การชักที่เกิดจากความผิดปกติ
ของคลื่นไฟฟ้าสมองพร้อมกันทั้ง 2 ด้าน
2.2 Absence ผปู้่วยมีอาการเหม่อ ตาลอย
2.3 Myoclonic กระตุกเป็นระยะเวลาสั้นๆ
2.1 Generalized tonic-clonic seizure
หมดสติ เกร็งตามตัว กระตุกเป็นจังหวะ
2.4 Clonic มีลักษณะกระตุกเป็นจังหวะ
2.5 Tonic กล้ามเนื้อเกร็งอย่างรุนแรง
2.6 Atonic สูญเสียความตึงตัวของกล้ามเนื้อที่เกิดขึ้นทันที
3.Unclassified epileptic seizure
เป็นการชักที่ไม่สามารถจัดกลุ่มได้
เช่นการชักชนิด subtle ใน neonatal seizure
Partial seizureคือการชักที่เกิดจากความผิดปกติ
ของคลื่นไฟฟ้าสมองเฉพาะที่
1.2 Complex partial seizure ผู้ป่วยจะเสียการรู้ตัวขณะที่มี่อาการชัก
1.1 Simple partial seizure ผู้ป่วยไม่เสียการรู้ตัวขณะที่มี่ อาการชัก
ภาวะชักจากไข้สูง (Febrile seizure)
สาเหต
พี่น้องของเด็กที่เป็น Febrile Seizure
มีความเสี่ยงสูงกว่าเด็กทั่วไป 4-5 เท่า
เกิดในเด็กบางคนหลังที่ได้รับวัคซีน DPT หรือ Measles
-ปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุ เชื่อว่ามีปัจจัยร่วมกันหลายชนิด
การติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ ทางเดินอาหาร
อาการ
ไข้จะสูงกว่าหรือเท่ากับ 38ºC
ลักษณะการชัก ที่พบมากคือ generalized tonic- clonic หรือ focal ชักเป็นเวลาสั้นๆ ไม่เกิน 1-2 นาที
การชักซ้ำภายใน 24 ช่ัวโมง พบว่าระดับของ serum sodium ที่ต่ำกว่า 135 mEq/L
การรักษา
ระงับอาการชักด้วยการให้ Diazepam ทาง vein or anus
ให้ซ้ำได้ทุก 6-8ชม
Paracetamol 10-20 mg/kg/dose ให้ซ้ำได้ทุก 4-6 ช.ม.
รักษาสาเหตุที่ทำให้เกิดไข้
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการได้รับอุบัติเหตุ หรืออันตรายจากการชัก
-จับเด็กให้นอนในที่ราบใช้ผ้านิ่มๆ
คลายเสื้อผ้าเด็กออกให้หลวม โดยเฉพาะรอบคอเพื่อให้หายใจสะดวก
หลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้นให้เกิดการชักซ้ำ โดยการลดไข้
ประเมินและบันทึกลักษณะการชักลักษณะของใบหน้า ตา ขณะชัก
บิดามารดามีข้อจำกัดในการดูแลเด็กเนื่องจากขาดความรู้
-แนะนำและสาธิตวิธีการเช็ดตัวลดไข้ที่ถูกต้อง
-แนะน าวิธีการช่วยเหลือที่ถูกต้องขณะที่มีภาวะชัก
เปิดโอกาสให้บิดามารดามีส่วนร่วมในการดูแลเด็ก
เสี่ยงต่อเซลล์สมองถูกทำลายจากการชักนาน
ดูแลให้ยากันชักตามแผนการรักษา Diazepam 0.3 mg/kg/dose titrate dose vein slowly &observerespiration while injection
ลดไข้ทันทีที่พบว่ามีไข้ด้วยการเช็ดตัวด้วยน ้าอุ่นนานประมาณ 15 นาที ให้ยาลดไข้ paracetamol dose 10-20 mg/kg/dose
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง จัดให้นอนตะแคงหน้า
การตรวจระบบประสาทและสมองในเด็ก
การประเมินด้านร่างกาย
3) Brudzinski’s sign
ทดสอบโดยให้เด็กนอนหงายใช้มือช้อนหลัง ศีรษะคางชิดอก
เด็กที่มีการติดเชื้อเยื่อหุ้มสมองอักเสบ เด็กจะทำไม่ได้
4) Kernig’s sign
ทดสอบโดยให้เด็กนอนหงายและงอเข่าทั้งสองข้าง
ยกต้นขาให้ตั้งฉากกับลำตัวทีละข้าง ลองเหยียดขาข้างนั้นออก
เด็กปกติจะสามารถยกขาตั้งฉากแล้วเหยียดเข่าตรงได้
2) Babinski’s sign
ทดสอบโดยใช้อุปกรณ์ปลายทู่ ขีดริมฝ่าเท้าตั้งต้นที่ส้นเท้าถึง
นิ้วเท้า ผลบวกจะพบนิ้วเท้ากางออกในเด็กอายุ 1-2 ปี
ถือว่าปกติ อายุเกิน 2 ปีได้ผลบวกแสดงว่ามี upper motor neuron lesion
5) Tendon reflex
ตรวจปฏิกิริยาตอบสนองทางระบบประสาท โดยใช้ไม้เคาะเข่าเอ็น
แล้วสังเกตดู reflex ต้องใช้ไม้เอ็นเคาะ เคาะตรงใต้กระดูกสะบ้า
(patellar tendon) และตรงเอ็นร้อยหวาย ค่าปกติคือ 2+
1) Muscle tone
ตรวจดูความตึงตัวของกล้ามเนื้อ
ประเมินว่ามีแรงต้านจากกล้ามเนื้อ
แขนขาของผู้ป่วยอยู่ในระดับใด
แรงต้านลดลงกว่าปกติจนกล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก
(flaccidity หรือ paralysis)
มีความตึงตัวพอดีถือว่าปกติ (normal)
มีแรงต้านมากจนกล้ามเนื้อตึง (spasticity
6) การประเมินระดับการรู้สติGlasgow coma scale
อาการสำคัญทางระบบประสาท (Neurological Signs)
อาการทางตา (Ocular Signs)
ปฏิกิริยาการเคลื่อนไหว (Motor Response)
ระดับความรู้สึกตัว (Level of Conscious)
การเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพ (Vital Signs)
7.2 การพยาบาลเด็ที่มีภาวะความดัน
ในช่องกะโหลกศีรษะสูง
ภาวะน้ำคั่งในโพรงสมอง (Hydrocephalous)
เป็นภาวะที่มีน ้าไขสันหลังคั่งในกะโหลกศีรษะ
บริเวณVentricle(โพรงสมอง) และชั้น subarachnoid
ในภาวะปกติจะมีน ้าไขสันหลังอยู่ประมาณ 50-150 cc/min
และมีอัตราการสร้าง 0.35 cc/min or 500 cc/day
สาเหตุ
มีการอุดตันของทางเดินน ้าไขสันหลังระหว่างจุดที่ผลิตและจุดที่ดูดซึมเกิดจากผิดปกติแต่กำเนิด เนื้องอก การติดเชื้อ
ความผิดปกติของการดูดซึมของน้ำไขสันหลังจากการอักเสบจากCongenital Hypoplasia ของ Arachnoid Villi
ถ้ามีทางผ่านของน ้าระหว่าง Ventricle และ Spinal cord ความผิดปกติเรียก Communication
ถ้าทางผ่านของน ้าถูกกั้นความผิดปกติเรียกว่า Obstructive หรือ Intraventricular Hydrocephalus
มีการสร้าง CSF มากกว่าปกติ พบบ่อยคือ
เนื้องอกของ Choroid Plexus
การพยาบาล
การพยาบาลหลังผ่าตัด
มีโอกาสเกิด subdural hematomaในระยะ
1-3 วันแรกหลังผ่าตัด V-P shunt
ประเมินภาวะ IICP หลงัผา่ ตดัทุก15-30 นาที
-ไม่ควรกด reservoir หรือ chamber ในระยะ 3-5 วนัแรกหลงัผ่าตัด
จัดให้นอนราบ กรณีพบกับหม่อมที่ลึกลงไปมาก เพื่อให้ไหลเวียนของ CSF ลงท้องช้าลง ป้องกันการยุบตัวของเนื้อสมอง
มีโอกาสเกิดการติดเชื้อบริเวณShunt ทั้งในระยะแรกหลังผ่าตัด
และเมื่อกลับไปดูแลที่บ้าน
ตัดเล็บเด็กให้สั้นและหลีกเลี่ยงการเกาบริเวณศีรษะ
-แนะนำผู้ปกครองให้สังเกตอาการและอาการแสดง
ประเมินกระบวนการอักเสบของเนื้อเยื่อบริเวณแผลผ่าตัด
มีโอกาสเกิดภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง
1-3 วันเเรกของการผ่าตัด
NPO หลังผ่าตัด
ประเมินท้องอืดเป็นระยะ ถ้าพบรายงานแพทย์เพื่อ on NG tube
ไม่นอนตะแคงทับข้างที่ผ่าตัดเพราะอาจจะกด valve
คำแนะนำแก่บิดามารดาเมื่อเด็กมี shunt
แนะนeให้สังเกตอาการของความดันในกะโหลกศีรษะเพิ่ม
เช่น อาเจียน กระสับกระส่าย
สังเกตบริเวณที่มี Pump ว่าบวมหรือไม่
จัดท่านอนให้เด็กนอนศีรษะสูงเล็กน้อย 30 องศา ห้ามนอนศีรษะต่ำ
แนะนำเกี่ยวกับเรื่องอาหาร เช่น ให้รับประทานผักผลไม้
เพื่อป้องกันท้องผูก
ส่งเสริมพัฒนาการตามวัย พาเด็กมาตรวจตามนัดทุกครั้ง
การพยาบาลก่อนผ่าตัด
ความแข็งแรงของผิวหนังผิดไปจากคนปกติ
– จัดให้นอนบนที่นอนอ่อนนุ่ม พลิกตะแคงทุก 2 ชั่วโมง
ดูแลความสะอาดของผิวหนังบริเวณศีรษะ
ความสัมพันธ์ระหว่างบิดามารดาและเด็ก อาจไม่เป็นไปตามปกต
อาจเกิดภาวะขาดสารน้ำและอาหาร
-จับให้เด็กเรอหลังดื่มนม
มีโอกาสเกิดภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง
หลีกเลี่ยงการทำให้อาเจียน
-จัดท่าให้นอนศีรษะสูงเล็กน้อย 30 องศา เพื่อช่วยให้
เลือดผ่าน jugular vein กลับสู่หัวใจสะดวก
ดูแลไม่ให้เด็กร้อง
ดูแลในการระบาย CSF
ดูแลให้ได้รับยา Diamox ตามแผนการรักษา
ติดตามภาวะ acidosis เช่นหายใจเร็วขึ้น
ประเมินอาการและอาการแสดงของ IICP ควรวัดเส้นรอบศีรษะทุกวัน
การวินิจฉัย
ถ่ายภาพรังสีกะโหลกศีรษะจะเห็นการแยกของ
Suture และกระดูกกะโหลกศีรษะบาง
3.Transillumination จะเห็นการแยกของ
Suture และกระดูกกะโหลกศีรษะบาง
เปรียบเทียบรอบศีรษะกับขนาดปกติของเด็ก
แต่ละวัย โดยการวัดรอบศีรษะจะเพิ่มรวดเร็ว
CT Scan หรือVentriculography จะ
เห็น Ventricle ขยาย
แนวทางการรักษา
ถ้าศีรษะโตมากขึ้นเรื่อย ๆ
ต้องผ่าตัดเอาส่วนที่อุดตันออก เช่น เนื้องอก
ทำ Shunt ให้น้ำไขสันหลังจาก Ventricle
ไปดูดซึมที่ peritoneal เรียก V-P shunt
ถ้าศีรษะโตไม่มากนัก เจาะหลังใส่ยา
อาการและอาการแสดง
ทารกและเด็กเล็ก ที่มีภาวะน้ำคั่งในกะโหลกศีรษะอาจจะเริ่มมีอาการภายใน 2-3เดือน เมื่อวัดรอบอกและรอบศีรษะ
มีอาการเมื่อมองลงล่างจะเห็นตาขาวมาก
( Sun Set Eye หรือ Setting Sun Sign)
3.เบื่ออาหาร เลี้ยงไม่โต สั่น ร้องเสียงแหลม
นางสาวยุพาวดี แพงบุบผา 621201148