Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ IUGR (Intrauterine Growth Retardation) -…
ภาวะทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ IUGR
(Intrauterine Growth Retardation
)
ความหมาย
ทารกในครรภ์น้ำหนักน้อยหรือพัฒนาการช้ากว่าทารกปกติ เมื่อเทียบกับอายุครรภ์และเพศ น้ำหนักของทารกจะต่ำกว่าเปอร์เซ็นต์ไทล์ที่10 ของน้ำหนักปกติตามอายุครรภ์ โดยการประเมินด้วยอัลตราซาวด์ หากเด็กคลอดครบกำหนดมีน้ำหนักแรกคลอดน้อยกว่า 2500กรัม ถือว่ามีภาวะโตช้าในครรภ์
พยาธิสภาพ
1.ทารกที่มีขนาดเล็กตามกรรมพันธุ์
ไม่ได้มีการเจริญเติบโตช้าในทารกที่ตัวเล็กแต่เกิดจาก มารดาน้ำหนักน้อยก่อนตั้งครรภ์ ทารกกลุ่มนี้ไม่ได้มีความเสี่ยงแตกต่างจากทารกทั่วไป ไม่พบความแตกต่างการเกิด intrauterine asphyxia
2.ทารกที่เจริญเจริญเติบโตช้า แบ่งได้ 3กลุุ่ม
2.1Symmmetric IUGR
ทารกในครรภ์เจริญเติบโตช้า
แบบได้สัดส่วน
1.สภาพแวดล้อมเช่นอาศัยอยู่ที่ภูมิประเทศที่สูง
ทำให้ทารกมีภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรัง
2.ภาวะทุพโภชนาการหรือหญิงครรภ์
มีน้ำหนักก่อนคลอดน้อยกว่า 45กิโลกรัม
3.การได้รับรังสีโดยเฉพาะในไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์ซึ่งเซลล์จะมีการแบ่งตัวอย่างรวดเร็วรังสีสามารถทำลายเซลล์โดยตรง
4.ยาและสิ่งเสพติดยาบางอย่างที่ใช้รักษาโรคในสตรีมีครรภ์
5.พันธุกรรมทารกในครรภ์ที่มีความผิดปกติของโครโมโซม
6.การติดเชื้อ
7.พิการแต่กำเนิดเช่นระบบหัวใจและหลอดเลือด
2.2Asymmetric IUGR
ทารกในครรภ์เจริญเติบโตช้าแบบไม่ได้สัดส่วน
1.หญิงตั้งครรภ์เป็นโรคความดันโลหิตสูงเรื้อรัง
(chronic hypetension)ความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภ์
โรคเบาหวานโรคของระบบภูมิคุ้มกัน (autoimmue)
ที่มีการเปลี่ยนแปลงของหลอดเลือด
2.โรคเกี่ยวกับเม็ดเลือดแดงเช่นโรคโลหิตจาง
โรคหัวใจที่มีภาวะเขียว (tetralogy of fallof)
3.โรคไตเรื้อรัง
4.ครรภ์แฝด
5.รกและสายสะดือมีความผิดปกติ
2.3 Combined IUGR
ทารกที่มีปัญหาเจริญเติบโตช้าทั้ง symmetrical และ asymmetrical IUGR
2.พอตั้งครรภ์มาสักระยะ มีปัญหาของการโหลเวียนลือดจากมารดาไปสู่ทารกไม่ดี ทารกจึงเกิด asymmetrical IUGR ซ้ำช้อน
1.ช่วงแรกของการตั้งครรภ์ทารกอาจมีภาวะแบบ symmetrical IUGR
3.ทารกกลุ่มนี้ส่งผลให้เกิด
ผลลัพธ์การตั้งครรภ์ของทารกมีปัญหามากที่สุด
การพยาบาล
1.ระยะตั้งครรภ์
1.ให้ข้อมูลกับหญิงตั้งครรภ์และครอบครัว
-สาเหตุ
-ผลกระทบ
-แผนการรักษา
-วิธีดูแลตัวเอง
2.แนะนำให้ทานโปรตีนเพิ่มมากขึ้น
3.แนะนำให้นอนตะเเคงซ้าย
4.แนะนำการนับลูกดิ้น
5.แนะนำให้ชั่งน้ำหนักและควบคุมน้ำหนักตามคำแนะนำ
2.ระยะคลอด
1.จัดท่าศีรษะสูง
2.ถ้านอนพักให้นอนตะเเคงซ้าย
3.ประเมินเสียงหัวใจทารกทุก30-60นาที
4.สังเกตการมีถุงน้ำคร่ำแตก
5.ดูแลความสุขสบาย
6.เตรียมอุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพ
3.ระยะหลังคลอด
1.ดูแลสิ่งแวดล้อมไม่ให้ทารกสัมผัสอุปกรณ์ที่เย็น
2.ตรวจร่างกายทารกอย่างละเอียด
3.กระตุ้นทารกให้ดูดนมจากมารดา
และส่งเสริมส้มพันธภาพมารดาและทารก
อาการ
ขนาดหน้าท้องไม่สัมพันธ์กับอายุครรภ์
คลำตัวทารกได้ชัดเพราะน้ำคร่ำน้อย
การวินิจฉัย
วัดขนาดหน้าท้อง
ตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
ตรวจหา doppler velocity หลอดเลือด
อาการแสดงร่วมเช่น น้ำคร่ำน้อย
ผลกระทบ
ทารก
Fetal distress
น้ำตาลในเลือดต่ำ
MAS
แคลเซียมในเลือดต่ำ
Perinatal asphyxia
มารดา
Fetal distress ต้องผ่าคลอด
ค่าใช้จ่ายสูง
วิตกกังวลในการเลี้ยงดูทารก