Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์ (Premature rupture of membranes),…
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์
(Premature rupture of membranes)
ความหมาย
ภาวะที่ถุงน้ำคร่ำรั่วหรือแตกเองก่อนมีการเจ็บครรภ์คลอด ซึ่งอาจจะเกิดขึ้นขณะอายุครรภ์ครบกำหนดตั้งแต่ 37 สัปดาห์ (Term PROM) หรือ ก่อนอายุครรภ์ครบกำหนด 37 สัปดาห์ (Preterm PROM) โดยภาวะน้ำเดินก่อนกำหนดพบในช่วงอายุครรภ์ครบกำหนดประมาณ 10% และก่อนอายุครรภ์ครบกำหนดประมาณ 3% ของการคลอดบุตรทั้งหมด
พยาธิสภาพ
การติดเชื้อ เช่นเชื้อภายในหนทางคลอด ได้แก่
Group B streptococci, Chlamydia trachomatis,
Neisseria gonorrhoee และ Bacterial vaginosisเชื้อเหล่านี้จะสร้างพรอสตาแกรนดินในชั้นของถุงน้ำ ทำให้มดลูกมีความไวต่อการเกิดพรอสตาแกรนดิน มีการทครัดตัวและเกิดถุงน้ำคร่ำแตกได้
2.ระดับฮอร์โมน โดยเฉพาะระดับความเข้มของฮอร์โมน
โปรเจสเตอโรนที่ลดลง ทำให้มีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างของ
เนื้อเยื่อคอลลาเจน มีการเพิ่มสัดส่วนของสารประกอบ
Hyaluronic acidในเซลล์ทำให้เนื้อเยื่อคอลลาเจนบวมน้ำ พันธะที่เคยดึงเนื้อเยื่อเอาไว้เริ่มหลวมและขาดออกจากกัน
ทำให้ปากมดลูกนุ่มและสุก
การยึดขยายของมดลูกที่มาก (overdistention)
เป็นสาเหตุให้ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนเวลาได้
สาเหตุปัจจัยส่งเสริม
-ติดเชื้อในถุงน้ำคร่ำ
-มีประวัติการแตำน้ำคร่ำหนึ่งคน
-ติดเชื้อในระบบปัสสาวะ
-รกเกาะต่ำ
-มดลูกมีการขยายตัวมาก
-ทารกอยู่ในท่ารกผิดปกติ
-เคยเจาะน้ำครั้ง
การรักษา
1.ป้องกัน
-ประเมินคัดกรอง
-ให้คำแนะนำ
สาเหตุ ผลกระทบ
รับประทานอาหาร5หมู่
หลีกเลี่ยงการทำงานหนัก
หลีกเลี่ยงการติดเชื้อ
งดมีเพศสัมพันธ์ 3เดือนแรกและ3เดือนสุดท้าย
2ถุงน้ำคร่ำแตก
-นอนพักบนเตียง
-ประเมินV/S q 4h.
-ประเมิน สี กลิ่น ปริมาณ น้ำคร่ำที่ออกมา
-เฝ้าระวังการติดเชื้อ
-ประเมินเสียงหัวใจทารก q 4 h.
-ประเมิน NST
-ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์
-ดูแลให้ไดเรับยาตามแผนการรักษา
-ติดตามผลแล็ป
3.กลับบ้าน
-งดทำงานหนัก
-นอนหลับให้เพียงพอ
-งดมีเพสสัมพันธุ์
-รับประทานอาหารให้ครบ5หมู่
-สังเกตการดิ้นของทารก
-ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์
-สังเกตอาการผิดปกติที่ต้องมาพบแพทย์
ผลกระทบ
มารดา
-ติดเชื้อในถุงน้ำคร่ำ
-ติดเชื้อระยะหลังคลอด
-รกลอกตัวก่อนกำหนด
-อาจได้ผ่าตัดคลอด
ทารก
-สายสะดือพลัดต่ำ
-คลอดก่อนกำหนด
-อาจเสียชีวิตหลังคลอด
-การพัฒนากระดูกและกล้ามเนื้อผิดปกติ
การวินิจฉัย
1.ซักประวัติ : มีน้ำเดินไหลออกจากช่องคลอดและไหล
ออกมาเรื่อยๆ น้ำมีลักษณะใสแต่อาจมีเลือดปนได้
2.ตรวจร่างกาย : ตรวจภายใน พบบริเวณฝีเย็บเปียกชื้นมีน้ำขังอยู่ในช่องคลอด
กดยอดมดลูก มีน้ำคร่ำไหลออกจากปากมดลูก
3.ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Nitrazine Paper Test
Fern Test (Arborization)
Nile Blue Sulfate Test
Papanicolaou Smear
Enzyme assay
Pinacyanol Stain
การฉีดสีเข้าถุงน้ำคร่ำ ฉีดสี Evans Blue Methylene Blue
Alpha-Fetoprotein ด้วยวิธีLatex – Agglutination
Prolonged PROM
สตรีตั้งครรภ์เข้าสู่ระยะคลอดร่วมกับการมีถุงน้ำคร่ำแตกมาก่อน
การเจ็บครรภ์ นานกว่า 18 ชั่วโมง
สถานการณ์นี้สามารถเกิดขึ้นได้ทั้งในระยะแรกหรือ
ทารกแรกเกิดที่คลอดก่อนกำหนด ซึ่งในกรณีหลังนี้
เรียกว่า เยื่อหุ้มเซลล์แตกก่อนกำหนดเป็นเวลานาน
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะติดเชื้อในทารกแรกเกิด
hypoplasia ในปอดสามารถพัฒนาได้เมื่อมีการแตกของเยื่อหุ้มเซลล์เป็นเวลานานมากทำให้เกิด oligohydramnios แบบถาวร
อาการ
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนดไม่มีการเจ็บครรภ์
การแตกของถุงน้ำคร่ำก่อนอายุ 37 สัปดาห์
มีน้ำคร่ำไหลออกมาจากช่องคลอดนานกว่า 18 ชั่วโมง
นางสาวกนกอร ยาประโคน เลขที่ 3 ID 621801003