Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
รากฐานแห่งพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ - Coggle Diagram
รากฐานแห่งพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์
การสนับสนุนและความจงรักภักดีของกลุ่มบุคคล
กลุ่มชนชั้นสูง
พระราชวงศ์
กษัตริย์ยังต้องผูกพันไว้เป็นฐานอำนาจ
พระญาติที่ใกล้ชิดของกษัตริย์
เป็นกำลังสำคัญในการค้ำจุนและช่วงชิงบัลลังค์
ขุนนาง
กลุ่มบุคคลที่รับราชการเป็นกลไกในการบริหารแทนกษัตริย์
อาจมาจากผู้รับใช้ใกล้ชิดก่อนครองราชย์กรือบุตรหลานขุนนาง
มาจากตระกลูระดับล่างแต่มีความสามารถ
กลุ่มสมณพราหมณ์
พราหมณ์
ตำแหน่งในสมัยอยุธยาคือพระโหราธิบดีและพระมหาราชครู
มีบทบาทหน้าที่ในการทำนายโชคชะตา
เป็นผู้ประกอบพิธีกนนมเพิ่มความศักดิ์สิทธ์ให้กษัตริย์
พระภิกษุสงฆ์
สืบทอดศาสนาและเผยแผ่หลักธรรม
เป็นเครื่องมือทางการปกครองที่สัมฤธิผล
ช่วยเสริมสร้างความมั่นคงของกษัตริย์
กลุ่มผู้ถูกปกครอง
ทาส
ไม่ได้รับอิสระและสิทธิ
สถานภาพที่ต่ำมากที่สุด
พ่อค้า
เป็นปัจจัยสำคัญในการสร้างความมั่นคง
ได้รับการดูแลดี แต่ต้องอยู่เมืองนอก
ไพร่
ไพร่ชาย มีหน้าที่รับราชการตามสังกัดของตน
ไพร่หญิง ช่วยงานเจ้านายต้นสังกัด
ราษฎรที่เป็นเสรีชนทั้ง ชาย หญิง
อิทธิพลและการสนับสนุนจากลัทธิศาสนา
ศาสนาพราหมณ์
แนวคิวด้านการปกครองของศาสนานี้ถือว่ากษัตริย์คือ เทพเจ้า
พราหมณ์จะมีตำแหน่งราชการตั้งแต่สมัยอยุธยา
กษัตริย์จะเป็นเทพโดยสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อได้ผ่านการประกอบพิธีกรรม
พระพุทธศาสนา
หลักธรรมสำคัญ ได้แก่ ทศพิธราชธรรม ราชจรรยานุวัตรและจักรวรรดิวัตร
มีความสำคัญในการกำหนดความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้ปกครองและผู้ถูกปกครอง
ใช้เมตตาธรรมสร้างบารมีให้ประชาชนเกิดความจงรักภักดี
คติของพุทธศาสนาไม่ได้สนับสนุนให้ผู้นำใช้อำนาจเน็คเสร็จดังเช้นศาสนาพราหมณ์
แนวคิดช่วยเสริมเสถียรภาพทางการเมือง
พระพุทธศาสนาทั้งเถรวาทและมหายานได้เผยแผ่เข้าสู่ดินแดนในระยะเวลาใกล้เคียงกับศาสนาพราหมณ์