Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Atrial septal defect secundum, 193056617_538106584030123…
Atrial septal defect secundum
Personal data
: :black_flag:
ประวัติการรักษา
:silhouette:
ธันวาคม 2559 ผู้ป่วยเข้ารับการตรวจสุขภาพที่โรงพยาบาลป่าโมก จังหวัดอ่างทอง พบว่ามีอาการหัวใจเต้นผิดปกติเเต่ไม่ได้รับการรักษา
มกราคม 2560 เข้ารับการตรวจ Echocardiogram,EKG,CXR ที่โรงพยาบาลอ่างทอง แพทย์วินิจฉัยว่าเป็น Atrial septal defect เเต่ไม่ได้เข้ารับการรักษา
สิงหาคม 2560 เข้ารับการรักษาที่สถาบันโรคทรวงอก
16 กุมภาพันธ์ 2561 ผู้ป่วยรอรับการผ่าตัดที่สถาบันโรคทรวงอก เเพทย์ส่งปรึกษานักกายภาพบำบัดเพื่อเตรียมตัวก่อนการผ่าตัดเเละจ่ายยาควบคุมการเต้นของหัวใจ
20 กุมภาพันธ์ 2561 ได้รับการผ่าตัด Closured ASD with pericardium patch หลังผ่าตัดไม่มีอาการแน่นหน้าอก มีอาการปวดแผล
21 กุมภาพันธ์ 2561 ได้เข้ารับการรักษาทางกายภาพบำบัด (Chest PT,ROM exercises,breathing,position)
22กุมภาพันธ์ 2561 นิสิตกายภาพบำบัดมาดูแล ไม่วิงเวียนศรีษะ ไม่เหนื่อยเเต่ปวดแผลเล็กน้อย
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว
:silhouettes:
น้องสาวและยายเป็นโรคเบาหวาน
ป้าเคยเป็นโรคมะเร็ง
ผู้ป่วยปฎิเสธโรคหัวใจของครอบครัว
ผู้ป่วยหญิงไทยคู่ อายุ 27 ปี ปัจจุบันอาศัยอยู่ที่ ตำบลลาดน้ำเค็ม อำเภอผักไห่ จังหวัดอยุธยา เมื่อ 2 ปีก่อน มีอาการหายใจไม่เต็มอิ่ม เหนื่อยง่าย และถูกวินิจฉัยว่าเป็น Atrial septal defect secundum ได้เข้ารับการรักษา ผู้ป่วยปฏิเสธโรคประจำตัว, การดื่มสุราและการสูบบุหรี่ เมื่อ 4-5 ปี ก่อนเคยประสบอุบัติเหตุไหปลาร้าหัก แต่ไม่ได้รับการผ่าตัด
ความหมายของโรค
:star:
เกิดจากความผิดปกติในการพัฒนาของผนังกั้นหัวใจห้องบน ไม่สมบูรณ์ จึงเกิดรูรั่วที่ fossa ovalis ทำให้เลือดที่มี O2 สูงจากหัวใจห้องบนซ้ายไหลไปยังห้องบนขวา
Treatment
:star:
การรักษาทางการแพทย์
การใช้ยา
ป้องกันภาวะหัวใจวาย
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ
การผ่าตัด
Relocation of pulmonary vein
มี pulmonary vein มาเปิดเข้า superior vena cava หรือหัวใจห้องบนขวา
ใช้ pericardium ปิด ถึงรูเข้าของ pulmonary vein
พวก sinus venous defect
ใช้ ASD เป็นทางให้เลือดที่มาจาก pulmonary vein ผ่านเข้าหัวใจห้องบนซ้ายได้
Mitral regurgitation
ใส่ลิ้นหัวใจเทียม เมื่อมีพยาธิสภาพของลิ้นหัวใจ mitral มาก
เย็บ cleft ใน primum defect โดยใช้ patch ปิด ASD
ป้องกันไม่ให้ลิ้นหัวใจ mitral เสียรูป
ป้องกันไม่ให้เกิด regurgitation
Closure of defect
ถ้า defect ใหญ่มาก หรือกลัวว่าถ้าปิดโดยตรงแล้วรอยเย็บจะตึงมาก ก็ใช้ pericardial patch ได้
ส่วนใหญ่สามารถปิดได้โดยตรงใน secundum defect
ASD device
ใช้แทนการผ่าตัด
ใช้ amplatzer TM septal occluder
การรักษาทางกายภาพบำบัด
Breathing exercises
เพิ่มความยืดหยุ่นของการขยายผนังทรวงอก
ป้องกันภาวะปอดแฟบ
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนหลังการผ่าตัด
เพิ่มการระบายอากาศและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
Pursed lip breathing exercises
ลดอาการหอบเหนื่อย
ช่วยให้รู้สึกผ่อนคลาย
ลดภาวะหลอดลมตีบ/เกร็ง
การใช้ triflo
ป้องกันและลดอาการปอดอักเสบ
ช่วยฝึกหายใจ
ลดภาวะแทรกซ้อนก่อนและหลังผ่าตัด
ช่วยให้การทำงานของปอดเป็นปกติ
Coughing training
ช่วยขับเสมหะออกจากหลอดลม
ผลการตรวจร่างกาย
22 กุมภาพันธ์ 2561 :check:
ผลการตรวจทางห้องปฎิบัติการที่ผิดปกติ
Blood chemistry
CPK 1214 U/L สูงกว่าปกติ (0-170 U/L ) บ่งบอกถึงกล้ามเนื้อถูกทำลาย
CK-MB 104 U/L สูงกว่าปกติ (0-24 U/L ) บ่งบอกถึงกล้ามเนื้อหัวใจถูกทำลาย
Complete blood count
Lymph 8% ต่ำกว่าปกติ (20-40%) บ่งบอกถึงการเกิดโรคหัวใจหรือมีผลมาจากความเครียด
Hb 12.9 g/dl ต่ำกว่าปกติ (14-18 g/dl) เกิดจากภาวะโลหิตจางหรือเสียเลือดจากการผ่าตัด
PMN 85% สูงกว่าปกติ (40-70%) บ่งบอกถึงการติดเชื้อแบคทีเรีย
Hct 38% ต่ำกว่าปกติ (42-54%) เกิดจากภาวะโลหิตจางหรือเสียเลือดจากการผ่าตัด
WBC 23000 cell/cu.mm สูงกว่าปกติ (5000-10000 cell/cu.mm) บ่งบอกถึงร่างกายตอบสนองการติดเชื้อหรือการอักเสบ
Vital sign
Respiratory rate 22 bpm Tachypnea (12-20 bpm) เกิดจากเจ็บแผลหลังการผ่าตัด
สาเหตุ
:<3: :!!:
ผนังกั้นหัวใจห้องบนรั่วเป็นความผิดปกติตั้งแต่กำเนิด ในระบบไหลเวียนโลหิตของทารก ในครรภ์ปกติจะมีรูเปิดอยู่เพื่อให้เลือดนั้นไม่ต้องผ่านปอด (ในครรภ์เลือดจะถูกฟอกผ่านรกเนื่องจากปอดจะยังไม่ ทำงาน) โดยเลือดจะไหลจากหัวใจห้องบนขวาเข้าสู่หัวใจห้องบนซ้ายแล้ว ผ่านลงไปยังหัวใจห้องล่างซ้ายจากนั้นสูบฉีดไปเลี้ยงร่างกายต่อไป เมื่อเด็กเกิดออกมาช่องโหว่นี้จะถูกปิดถ้าไม่ปิดเลือดจะไหลออกจาก หัวใจห้องบนซ้ายไปยังห้องบนขวา
พยาธิสรีรวิทยา
:!:
ASD ทำให้เลือดไหลผ่านรูรั่วจาก LA ไปยัง RA ปริมาณเลือดขึ้นกับขนาดของรูรั่ว,แรงต้านทานหลอดเลือดในปอด ความยืดหยุ่น (compliance) ของ RV ซึ่งในช่วงแรกเกิด ผนัง RV จะหนามีความยืดหยุ่นน้อยจึงทำให้เลือดไหลผ่านรูรั่วจาก LA ไปยัง RA น้อย เมื่ออายุ 3-5 ปี RV จะมีความยืดหยุ่นดีขึ้นสามารถขยายรับเลือดจาก RA ลงมา RV ได้มากขึ้นซึ่งจะทำให้ทั้ง RA และ RV โตขึ้นได้
ข้อห้ามในการกายภาพบำบัด
:forbidden:
ภาวะหัวใจเต้นเร็ว/เต้นช้ามากที่ควบคุมไม่ได้
ไข้/ภาวะเจ็บป่วยเฉียบพลัน
Atrium / Ventricle เต้นผิดจังหวะชนิดที่ควบคุมไม่ได้
ภาวะหัวใจวาย
ลิ้นหัวใจตีบขั้นปานกลางถึงรุนแรง
เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบหรือกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
ข้อควรระวังในการกายภาพบำบัด
:warning:
การจัดท่าเพื่อให้เสมหะไหลแบบประยุกต์ ซึ่งขณะทำการรักษานี้นักกายภาพบำบัดควรระวังอาการต่างๆ
ของผู้ป่วย โดยสังเกตดู ECG ดูการเปลี่ยนแปลงอัตราและจังหวะการเต้นของหัวใจ นักกายภาพบำบัดต้องหยุดการรักษาทันที เมื่อมีการเพิ่มขึ้นของชีพจรมากกว่า 20 % ขณะพัก