Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบประสาท กล้ามเนื้อและกระดูก…
บทที่ 7 การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบประสาท กล้ามเนื้อและกระดูก
7.1 การพยาบาลเด็กที่มีอาการชัก
ชักจากไข้สูง (Febrile Seizure)
ชักจากไข้สูง (Febrile Seizure)
เป็นปัญหาที่พบบ่อยในเด็กเล็กก่อนวัยเรียน รายงานจากต่างประเทศพบอุบัติการณ์ร้อยละ 2-5 ในเด็กก่อนอายุ 5 ปี พบมากในช่วงอายุ 18-22 เดือน เด็กชายพบ มากกว่าเด็กหญิงเล็กน้อย
สาเหตุ
-ปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุของ แต่เชื่อว่ามีปัจจัยร่วมกันหลายชนิด ได้แก่ พันธุกรรม ภาวะที่สมองเด็กยังไม่สมบูรณ์เต็มที่ และมีไข้เป็นปัจจัยกระตุ้น
อาการและอาการแสดง
โดยทั่วไปเชื่อว่าระดับไข้จะสูงกว่าหรือเท่ากับ 38ºC ลักษณะการชัก ที่พบมากคือ generalized tonic- clonic ร้อยละ 3 ช่วงเวลาที่ชัก ชักก่อนตรวจพบไข้หรือภายในเวลา 1 ชั่วโมงของไข้ การชักซา ้ภายใน 24 ชั่วโมง พบร้อยละ 16 นอกจากนี้ยังพบว่าระดับของ serum sodium ที่ต่ำกว่า 135 mEq/L เป็นปัจจัยในการเกิดชักซ้ำในการเจ็บป่วยครั้งเดียวกัน
การรักษา
1.รักษาสาเหตุที่ทำให้เกิดไข้
2.ระงับอาการชักด้วยการให้ Diazepam ทาง vein or anus ให้ซ้ำได้ทุก 6-8 ชม
Paracetamol 10-20 mg/kg/dose ให้ซ้ำได้ทุก 4-6 ช.ม.
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
1.เสี่ยงต่อเซลล์สมองถูกทำลายจากการชักนาน
เสี่ยงงต่อการได้รับอุบัติเหตุและหรืออันตรายจากการชัก
บิดามารดามีข้อจำกัดในการดูแลดก็เนื่องจากขาดความรู้
7.1 การพยาบาลเด็กที่มีอาการชัก
ภาวะชักและโรคลมชัก(Seizure and Epilepsy)
Seizure (อาการชัก) คือภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็วของคลื่นไฟฟ้าสมองโดยมีการปล่อยคลื่นไฟฟ้าที่ผดิปกติ(epileptic form discharge) จากเซลล์ประสาทในสมอง
ของอาการชักทพี่บบ่อยในเด็ก
1.ภาวะติดเชื้อที่กะโหลกศีรษะ เช่น เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
2.ภาวะผิดปกติทาง metabolism เช่น Hypocalcemia
3.ภาวะเลือดออกในกะโหลกศีรษะ
4.ภาวะผิดปกติทางไต เช่น Uremia
เนื้องอกในกะโหลกศีรษะ
โรคบาดทะยัก
ภาวะไข้สูงในเด็กเล็ก
ความผิดปกติของสมองโดยกำเนิด เช่น Hydrocephalus
โรคลมบ้าหมู/โรคลมชัก (Epilepsy)
ชนิดและลักษณะเฉพาะของภาวะชัก
Partial seizure คือการชักที่เกิดจากความผิดปกติของคลื่นไฟฟ้าสมองเฉพาะที่ จะพบมีอาการเตือน (aura) ตรวจพบความผิดปกติของระบบประสาทเฉพาะที่หลังชัก
1.1 Simple partial seizure ผู้ป่วยไม่เสียการรู้ตัวขณะที่มีอาการชัก
ด้านการเคลื่อนไหว เช่น jerking การรับความรู้สึก คือมีความรู้สึกผิดปกติ เช่น มีการได้กลิ่นแปลกๆ ได้ยินเสียง การมองเห็น การได้กลิ่น รส หรือสัมผัสที่ ผิดปกติระบบประสาทอัตโนมัติ เช่น มีอาการคลื่นไส้อาเจียน
1.2 Complex partial seizure ผู้ป่วยจะเสียการรู้ตัวขณะที่มีอาการชัก
โดยผู้ป่วยอาจรู้ตัวดีมาก่อนและตามด้วยอาการไม่รู้ตัวหรือมีการเสียการรู้ตัวตั้งแต่แรก
ลักษณะการชักอาจมีการเคลื่อนไหวแบบ automatism
2.Generalized seizure คือการชักที่เกิดจากความผิดปกติของคลื่นไฟฟ้าสมองพร้อมกันทั้ง 2 ด้าน
2.1 Generalized tonic-clonic seizure
2.2 Absence ผู้ป่วยมีอาการเหม่อ
2.3 Myoclonic มีลักษณะกระตุกเป็นระยะเวลาสั้นๆ
2.4 Clonic มีลักษณะกระตุกเป็นจังหวะ
จังหวะ
2.5 Tonic มีลกัษณะกล้ามเนื้อเกร็งอย่างงรุนแรง
2.6 Atonic มีลกัษณะสูญเสียความตึงตัวของกล้ามเนื้อที่เกิดขึ้นทันที
3.Unclassified epileptic seizure เป็นการชักที่ไม่สามารถจัดกลุ่มได้เนื่องจากข้อมูลไม่พอเพียงหรือเนื่องจากการไม่ สมบูรณ์ของสมอง เช่นการชักชนิด subtle ใน neonatal seizure เป็นต้น