Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักและแนวคิดเกี่ยวกับการนิเทศ - Coggle Diagram
หลักและแนวคิดเกี่ยวกับการนิเทศ
จุดมุ่งหมายของการนิเทศ
การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
พัฒนาครูให้มีภาวะผู้นำทางวิชาการ
พัฒนาปรับปรุงหลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอน
เสริมสร้างสมรรถนด้านการสอนและการปฏิบัติงานของครู
ส่งเสริมการประสานงานและความร่วมมือ
เสริมสร้างขวัญและกำลังใจให้ครูมีความไว้วางใจและมั่นคงในอาชีพ
หลักสำคัญของการนิเทศการศึกษา
1.ต้องเป็นประชาธิปไตย
2.ต้องส่งเสริมและสร้างสรรค์
3.ต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายคน
4.ต้องอยู่บนรากฐานของการพัฒนาวิชาชีพ
6.หาทางช่วยให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความสามารถตามจุดมุ่งหมายของการศึกษา
5.ต้องคำนึงถึงความถนัดของแต่ละบุคคล
7.ต้องส่งเสริมความรู้สึกอบอุ่นให้แก่ครูและสร้างสัมพันธ์อันดีหะหว่างหมู่คณะ
8.ควรเริ่มต้นจากสถาพการณ์ปัจจุบัน
9.ควรส่งเสริมความก้าวหน้าของครู
10.ส่งเสริมและปรับปรุงทัศนคติของครูให้ถูกต้อง
11.พยายามหลีกเลี่ยงการกระทำอย่างเป็นพิธีการมากๆ
12.ใช้เครื่องมือและกลวิธีง่ายๆ
13.ควรตั้งอยู่บนหลักการและเหตุผล
14.ควรมีจุดมุ่งหมายที่แน่นอนและสามารถประเมินผลได้ด้วยตนเอง
ประเภทของการนิเทศการศึกษา
1.การนิเทศเพื่อการแก้ไข Correction
2.การนิเทศเพื่อป้องกัน Preventive
3.การนิเทศเพื่อก่อ Construction
4.การนิเทศเพื่อการสร้างสรรค์ Creation
กระบวนการนิเทศการศึกษา
แฮริส
1.ขั้นวางแผน Planning
2.ขั้นการจัดโครงการ organizing
3.ขั้นการนำเข้าสู่การปฏิบัติ Leading
4.ขั้นการควบคุม Controlling
5.ขั้นประเมินผล Appraising
ชัด บุญญา
1.กำหนดปัญหาแลความต้องการจำเป็น
2.กำหนดจุดประสงค์
3.กำหนดอุปสรรคและข้อจำกัด
4.กำหนดวิธีการที่เป็นทางเลือกในการแก้ปัญหา
5.การเลือกขั้นตอนที่ 4 มาปฏิบัติ ขั้นวางแผน (Plan,P)
6.นำไปทดลองใช้ ขั้นดำเนินการ (Doing,D)
7.การปะรเมินผลการทดลอง ขันตอนการตรวจสอบ (Check,C)
8.ปรับปรุงแก้ไขส่วนที่บกพร่อง ขั้นพัฒนา (Action,A)
ผู้ที่ทำหน้าที่นิเทศการศึกษา
1.ศึกษานิเทศ
2.ผู้บริหารสถานศึกษา
3.ครู
4.ผู้บริหารการศึกษา
5.ผู้เชี่ยวชาญ
งานการนิเทศการศึกษา
1.งานการให้ความช่วยเหลือครูโดยตรง
2.งานพัฒนาบุคลากร
3.งานพัฒนาหลักสูตร
4.งานบริหาร
5.งานการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
6.งานด้านการวัดและประเมินผล