Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง - Coggle Diagram
บทที่ 5 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ความหมายของกลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่าง หมายถึง สมาชิกบางส่วนของสิ่งที่ผู้วิจัยต้องการศึกษา ซึ่งผู้วิจัยเลือกมาใช้เป็นตัวแทนของประชากร ตัวอย่างจึงมีจำนวนน้อยกว่าประชากร
วิธีการสุ่มตัวอย่าง
การสุ่มตัวอย่างโดยอาศัยทฤษฎีความน่าจะเป็น
-การสุ่มตัวอย่างแบบง่าย
-การสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ
-การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น
-การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่ม
-การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน
การสุ่มตัวอย่างโดยไม่อาศัยทฤษฎีความน่าจะเป็น
-การเลือกตัวอย่างแบบบังเอิญ
-การเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง
-การเลือกตัวอย่างแบบโควตา
-การเลือกตัวอย่างแบบก้อนหิมะ
วิธีการหาขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
-การกำหนดเกณฑ์
-การใช้สูตรคำนวณ
-การใช้ตารางสำเร็จรูป
ลักษณะของกลุ่มตัวอย่างที่ดี
-มีความเป็นตัวแทน
-มีขนาดเหมาะสมหรือใหญ่พอ
-มีความเชื่อถือได้
ขั้นตอนของการสุ่มตัวอย่าง
-วิเคราะห์ความมุ่งหมายของการวิจัยให้ละเอียด
-ให้คำจำกัดความของประชากร
-กำหนดหน่วยของตัวอย่าง
-กำหนดขอบข่ายของประชากร
-ประมาณขนาดกลุ่มตัวอย่าง
-การวางแผนการเลือกกลุ่มตัวอย่าง
-ทำการเลือกกลุ่มตัวอย่างจริง
ประเภทของกลุ่มตัวอย่าง
จำแนกตามขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
-กลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่
-กลุ่มตัวอย่างขนาดเล็ก
จำแนกตามวิธีการได้มาของกลุ่มตัวอย่าง
-กลุ่มตัวอย่างที่ไม่ใช่แบบสุ่ม
-กลุ่มตัวอย่างแบบสุ่ม
ความหมายของประชากร
ประชากร หมายถึง สมาชิกทั้งหมดของสิ่งที่ผู้วิจัยต้องการศึกษาเป็นได้ทั้งสิ่งมีชีวิต เช่น คน สัตว์ พืช เป็นต้น และสิ่งไม่มีชีวิต เช่น สิ่งของ พฤติกรรม ปรากฏการณ์ เป็นต้น
ประโยชน์ของการใช้กลุ่มตัวอย่าง
-ประหยัดเวลา แรงงาน และงบประมาณ
-ได้ข้อมูลที่ทันสมัย
-การรายงานผลการวิจัยทำได้รวดเร็ว
-ข้อมูลที่เก็บได้มีความถูกต้องน่าเชื่อถือมากกว่า
-ลดปัญหาด้านการบริหารงานวิจัย
-ใช้กับประชากรที่มีจำนวนไม่จำกัดหรือไม่สามารถแจงนับได้ครบถ้วน
-การศึกษาบางเรื่องไม่จำเป็นต้องศึกษากับประชากร
ประเภทของประชากร
จำแนกตามการนับจำนวนประชากร
-ประชากรมีจำนวนจำกัด
-ประชากรมีจำนวนไม่จำกัด
จำแนกตามคุณลักษณะของประชากร
-ประชากรเอกพันธ์
-ประชากรวิวิธพันธ์