Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคสครับไทฟัส (Scrub typhus) - Coggle Diagram
โรคสครับไทฟัส (Scrub typhus)
ภาวะแทรกซ้อน
ปอดอักเสบ (Pneumonitis)
ภาวะหายใจล้มเหลว (Acute respiratory failure)
ภาวะช็อค (Shock)
ตับวาย (Acute hepatic failure)
ARDS (Acute respiratory distress syndrome)
ไตวาย (Acute renal failure)
เยื่อหุ้มสมองและหรือสมองอักเสบ Meningitis / Meningoencephaitis)
พยาธิสภาพ
เชื้อ 0. tsutsugamushi เข้าสู่ร่างกายโดยถูกตัวไรอ่อนที่มีเชื้อกัด
เชื้อเข้าสู่ Plasma membraneของ Host cell
ขบวนการ Phagocy tosis เชื้อนี้จะแบ่งตัวและเริญเติบโตอย่างอิสระใน Cytoplasm และหลุดออกจาก Host cell โดยวิธีการ Budding
ขบวนการดังกล่าวส่งผลทำให้เกิด Cell injury มีเชื้อบางตัวเข้าสู่
Mesothelial cell! ในเส้นเลือดขนาดเล็กและเกิดVasculitis ได้ทั่วร่างกาย
ความรุนแรงของโรคขึ้นอยู่กับสายพันธุ์ของเชื้อและภูมิต้านทานของผู้ติดเชื้อ ภูมิคุ้มกันในผู้ที่เคยติดเชื้อสามารถป้องกันได้ในสายพันธุ์เดียวกัน
อย่างน้อย15 เดือน ถ้าต่างสายพันธุ์จะป้องกันได้ไม่กี่เดือน
(สำนักงานป้องกันการควบคุมโรค.
http://e-lib.ddc.moph.go.th/
)
การติดต่อของโรค
คนเป็น Accidental host ที่ถูกตัวไรอ่อนที่มีเชื้อ O.tsutsugamushi กัด ไม่มีการติดต่อจากคนสู่คน
ระยะฟักตัวของโรค
6 - 21 วัน ปกติ 10 - 12 วัน
อาการและอาการแสดงของโรค
ไข้สูง ปวดศีรษะมาก
คลื่นไส้ อาเจียน หูอื้อ
เหงื่อออก หนาวสั่น
ตาแดง (Conjunctival infection)
ต่อมน้ำเหลืองโต (Lymphadenopathy)
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
1.ผู้ป่วยไม่สุขสบาย เนื่องจากมีอาการ
2.เสี่ยงต่อภาวะปอดอักเสบเนื่องจากการติดเชื้อ
กิจกรรมการพยาบาล
การรักษาแบบเฉพาะ
และตามอาการ
Doxycyeline 100 mg วันละ 2 ครั้ง เป็นเวลา 7 วัน สำหรับผู้ป่วยเด็กให้ขนาด 4.4 mg /kg./day
ในวันแรก ในวันที่สองขนาด 2.2 mgkg/day แบ่งเป็น 2 ครั้ง
Chloramphenicol 50-75 mg/kg/day ให้ผลการรักษาดีพอกันหรืออาจจะใช้ยาแบบฉีดถ้าผู้ป่วย
คลื่นไส้อาเจียนมาก หรือในรายที่รุนแรง ส่วนใหญ่ไช้จะลงในเวลา 24-36 ชั่วโมงหลังได้รับการรักษา
Tetracycline 500 mg วันละ 4 ครั้ง เป็นเวลา 7 วัน
สำหรับในผู้หญิงที่ตั้งครรภ์ หรือในเด็ก ไม่สามารถใช้ยา กลุ่ม Tetracycline หรือ Chloramphenicol อาจให้ยา Azithromycin 500 mg แทน วันละ 1 ครั้ง เป็นเวลา 3 วัน
การรักษาที่สถานีอนามัย
2.ถ้ามีอาการต่อไปนี้ให้ส่งต่อ
อาการหอบเหนื่อย สัญญาณชีพผิดปกติ หายใจผิดปกติ มีภาวะเลือดออก ภาวะช็อค (Shock) ระดับความรู้สึกตัวผิดปกติ
1.เมื่อมีผู้ป่วยที่สงสัยว่าเป็นโรคสครับไทฟัสและไม่มีภาวะแทรกช้อนให้รักษาตามหลักการรักษาข้างต้น
3.ในรายที่ให้การรักษาแล้วภายใน 48 ชั่วโมง อาการไม่ดีขึ้น ส่งต่อตามระบบ
การรักษาในระดับโรงพยาบาลชุมชน
ผู้ป่วยมีอาการสงสัยหรือยืนยันว่าเป็นโรคสครับไทฟัสให้การรักษาตามหลักการข้างต้น
ถ้ามีภาวะแทรกซ้อนรุนแรง พิจารณาส่งต่อที่
โรงพยาบาลจังหวัดหรือโรงพยาบาลศูนย์ตามระบบการส่งต่อ
ภาวะติดเชื้อและมีภาวะไหลเวียนเลือดล้มเหลว (Septic shock)
ภาวะไตวาย (Acute ranal failure)
ตับวาย (Acute hepatic failure)
เยื่อหุ้มสมองหรือสมองอักเสบ (Meningoencephalitis)
ปอดอักเสบ (Pneumonitis)
ภาวะทางเดินหายใจล้มเหลว (Acute respiratory failure)
กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ (Myocarditis)
โคม่า (Coma)
ภาวะเลือดออกผิดปกติ (DIC-Disseminated Intravascutar Coagulapathy)