Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หัวข้อที่ 2 ปรัชญาการศึกษา ตะวันตกและตะวันออก - Coggle Diagram
หัวข้อที่ 2 ปรัชญาการศึกษา ตะวันตกและตะวันออก
นิยามปรัชญาการศึกษา
แนวคิด หลักการและกฎเกณฑ์ ในการกำหนดแนวทางการจัดการศึกษา เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ปรัชญาการศึกษาเปรีบเหมือน เข็มทิศนำทาง ให้นักการศึกษาดำเนินการศึกษาอย่างเป็นระบบ ชัดเจนและสมเหตุสมผล
ประเภทของปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาการศึกษาสารัตถนิยม (Essentialism)
William C. Bagley
ปรัชญาที่ยึดเนื้อหา เน้นจำเนื้อหา ขาดความคิด จำมากเกินไปในทางทฤษฏี เน้นเนื้อกาจากมรดกทางวัฒนธรรมที่ควรได้รับการถ่ายทอด
ปรัชญาการศึกษานิรันตรนิยม (Perennialism)
St. Thomas Aquinas
ความเชื่อหลักการความรู้ จะต้องมีลักษณะยั่งยืนอย่างแท้จริง คงที่ ไม่เปลี่ยนแปลง
เชื่อว่ามนุษย์มีธรรมชาติเหมือนกันแตกต่างจากสัตว์ เน้นการพัฒนาเหตุผล
ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม (Progressivism)
เกิดจากทัศนะการศึกษา นักเรียนมีทักษะปฎิบัติงานได้ ครูเป็นผู้นำทางในด้าหารทดลองวิจัย การนำความคิดไปสู่การเปลี่ยนแปลง จะไม่มีการหยุดพัฒนา เชื่อว่าการศึกษาคือชีวิต
ปรัชญาการศึกษาปฎิรูปนิยม (Reconstructionlism)
Theodore Brameld
เน้นการศึกษาเพื่อสังคมเป็นสำคัญ คือ ผู้เรียนไม่ได้มุ่งพัฒนาตนเองอย่างเดียว แต่เพื่อนำความรู้มาพัฒนาสังให้ดีขึ้น
แนวทางแห่งการปฎิรูปเพื่อสร้างวัฒนธรรมใหม่ขึ้นมา
ปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวนิยม (Existentialism)
Soren Kierkegaard
มนุษย์ต้องเข้าใจและรูปจักตนเอง ทุกคนมีความสำคัญและมีลักษณะเฉพาะตน ทุกคนมีเสรีภาพที่จะเลือกตัดสินใจในการทำสิ่งๆนั้นแต่จะต้องรับผิดชอบต่อการกระทำ
ปรัชญาตะวันตก
ยึดเนื้อหาปรัชญาทั่วไปเป็นแม่บท เพื่อนำมาใช้ในการอธิบายการจัดการศึกษา และยึดการศึกษาเป็นแกนกลาง เน้นจุดมุ่งหมายของการศึกษา ครูจัดการศึกษาโดยนำแนวคิดมาใช้
John Dewey
มนุษย์ต้องเผชิญกับปัญหา จึงต้องฝึกให้มนุษย์แก้ปัญา เพื่อให้เกิดการเรียนรู้จากการกระทำ ฝึกปฎิบัติ ฝึกคิด ฝึกลงมือทำ ฝึกทักษะกระบวนการต่างๆ "Learning by doing"
Jean Jacques Rousseau
การให้การศึกษาแก่เด็กต้องทำความเข้าใจธรรมชาติของเด็กเสียก่อน
เด็กเปรียบเสมือนผ้าขาว
Plato
มนุษย์สามารถเรียนรู้ อบรมสั่งสอนได้ การพัฒนามนุษย์ขึ้นอยู่กับการศึกษา ตัวกำหนดบุคลิกภาพ
Aristotle
การศึกษาเป็นกระบวนการที่จะช่วยฝึกฝนร่างกายจิตใจความคิดและอุปนิสัยของคนเพื่อให้เป็นพลเมืองดีเป็นการเตรียมบุคคลให้รู้จักแสวงหาความสุขด้วยวิธีการที่ถูกต้อง
ปรัชญการศึกษาตะวันออก
ขงจื๊อ
การหาความรู้ต้องแยกแยะ คิด ไม่ใช่จำแล้วทำตาม ต้องคิดโดยใช้ความรู้
การศึกษาโดยปราศจากความคิดก็ไร้ประโยชน์ ทำนองเดียวกัน ความคิดที่ปราศจากการศึกษาก็เป็นอันตราย
เม่งจื๊อ
มนุษย์มีพื้นฐานเป็นคนดี การศึกษาขัดเกลาให้มนุษย์เป็นคนดี
ความดีทั้งหมดสามารถต่อเติมให้กับมนุษย์ได้ด้วยการศึกษาศิลปะวิทยาการต่างๆ การศึกษาสามารถช่วยแก้ปัญหาต่างๆได้
ความสำคัญของปรัชญาการศึกษา
ปรัชญากับการศึกษามีความสัมพันธ์กันอย่างมาก ปรัชญาช่วยให้เกิดความชัดเจนทางการศึกษาและทำให้นักศึกษาสามารถดำเนินการทางการศึกษาได้อย่างถูกต้อง