Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อหิวาตกโรค Cholera images (6), พยาธิสภาพของโรค aHR0cHM6Ly9zLmlzYW5vb2suY29…
อหิวาตกโรค Cholera
-
กิจกรรมการพยาบาลของโรค
ข้อวินิจฉัย 2 :มีโอกาสแพร่กระจายเชื้อไปสู่ผู้อื่นได้ เนื่องจากมีการติดเชื้ออหิวาตกโรค ที่ลำไส้และไม่มีความรู้ในเรื่องป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
-
-
2.ใช้หลักการการป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อทางอายุรศาสตร์ ใส่เสื้อคลุม สวมถุงมือขณะให้การพยาบาลล้างมือด้วยน้ำยาทุกครั้ง ทำลายเชื้ออุจจาระและสิ่งขับออกทางปาก
1.อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติทราบถึงสาเหตุ การติดต่อ อาการ และแผนการพยาบาลเหตุผลในการต้องแยกผู้ป่วย ตลอดจนการป้องกันมิให้กลับเป็นซ้ำอีก
ข้อวินิจฉัย 1 :ขาดความสมดุลของน้ำและเกลือแร่จากการถ่ายอุจจาระหรืออาเจียน
7.ติดตามอาการของการขากโปตัสเซียม คือ กล้ามเนื้ออ่อนแรง อัตราการเต้นของหัวใจช้าลง ท้องอืด ภาวะการขาดไบคาร์บอเนต มีอาการหายใจหอบลึก
-
5.สังเกตอาการของช็อก คือ ความดันโลหิตต่ำกว่าปกติ ชีพจรเร็ว หายใจเร็ว เหงื่อออก ตัวเย็น กระสับกระส่าย
- วัดและบันทึกสัญญาณชีพ ตามอาการของผู้ป่วยในระยะวิกฤตวัดทุกๆ 1-2 ชั่วโมง
3.บันทึกจำนวนน้ำที่ได้รับและขับออกจากร่างกายในระยะแรก ถ้าอาการรุนแรงบันทึก ทุก 1 ชั่วโมง โดยเฉพาะจำนวนปัสสาวะ ถ้าน้อยกว่า 30 มิลลิลิตรต่อชั่วโมง ต้องรายงาน เพราะ แสดงว่า ร่างกายได้รับน้ำไม่เพียงพอ ไตจึงขับถ่ายปัสสาวะออกมาน้อย
-
- ดูแลให้ได้รับรับสารน้ำและเกลือแร่ตามแผนการรักษา
-
-
พยาธิสภาพของโรค
ระบาดวิทยา
1.แบบรวดเร็ว Explosive pattern มีสาเหตุที่ทำให้เกิดร่วมกันระหว่างคนกลุ่มใหญ่ จึงเกิดมีผู้ป่วยพร้อมๆ กันหลายรายในระยะเวลาสั้นๆ
(ประมาณ 1-5 วัน)
2.แบบยืดเยื้อ Protracted pattern ผู้ป่วยได้รับเชื้อจำนวนน้อยจากแม่น้ำลำคลองที่ใช้ร่วมกัน บางครั้งหาแหล่งต้นเหตุไม่พบ หรือผู้ป่วยอาจได้รับเชื้อจำนวนมาก แต่อาการแสดงจำนวนไม่มาก ทำให้เกิดอาการประปราย การระบาดแบบนี้เป็นวงจรสำคัญทำให้โรคนี้คงอยู่(ชวลิต ทัศนสว่าง 2532;129)
โรคของลำไส้เล็กชนิดเฉียบพลัน โดยมีลักษณะอาการเฉพาะคือท้องเดิน อย่างมาก อุจจาระเป็นสีน้ำซาวข้าว อาเจียน ทำให้ร่างกายเสียน้ำ และเกลือจากร่างกายอย่างรวดเร็ว ถ้ารักษาไม่ทันทำให้ถึงแก่ความตายได้
การติดต่อและแพร่กระจาย
การรับประทานอาหารหรือดื่มน้ำที่มีการปนเปื้อนเชื้ออหิวาตกโรคจากผู้ป่วยหรือพาหะจากมือที่ไม่สะอาด ปรุงอาหารหรือหยิบจับอาหาร
จากแมลงวันเป็นตัวนำเชื้อโรคมาสู่อาหารและจากการใช้น้ำดื่ม น้ำใช้ล้างอาหาร พืช ผัก จากบ่อน้ำ แม่น้ำ ลำคลอง หรืออ่างเก็บน้ำที่มีเชื้อโรคอยู่
เชื้อนี้อยู่ในน้ำได้นาน ทำให้มีการแพร่กระจายของเชื้อได้นานและจะแพร่กระจาย โดยคนที่มีเชื้อเดินทางจากถิ่นหนึ่งไปยังอีกถิ่นหนึ่ง
ระยะติดต่อ
-
-
ระยะฟักตัว 1-5 วัน โดยเฉลี่ย 2 วัน
เกิดจากเชื้อ วิบริโอ คอลีรา vibrio cholera
ตัวเชื้ออหิวาตกโรคไม่ได้ทำให้การติดเชื้อทั่วร่างกาย แต่จะมีผลเฉพาะกับลำไส้เล็ก ซึ่งเป็นบริเวณที่เชื้อสามารถแบ่งตัวได้ดี และเชื้อจะไม่แทรกตัวเข้าไปอยู่ในเยื่อบุหรือหลอดเลือด จึงไม่ทำให้เกิดอันตรายต่อเยื่อบุหรือแม้แต่การดูุุุดซึม
-
การวางแผนการพยาบาล มีจุดประสงค์ เพื่อแก้ไขภาวะHypovolemic shock และให้เลือดและออกซิเจนไปเลี้ยงเนื้อเยื่อของร่างกายอย่างเพียงพอ
-
อ้างอิง
คณาจารย์สถาบันพระบรมชนก.การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ เล่ม 3 พิมพ์ครั้งที่ 7 นนทบุรี:โครงการสวัสดิการวิชาการ สถาบันพระบรมชนก,.2550 หน้า272-281
นิภา จรูญเวสย์. และคณะ. โรคเขตร้อน. กรุงเทพมหานคร : คณะแพทย์ศิริราชพยาบาล. มหาวิทยาลัยมหิดล, 2559.
ชวลิต ทัศนสว่าง.โรคติดต่อ.กรุงเทพมหานคร:สหประชาพาณิชย์,2532.
Bureau of Epidemiology. Summary of the annual cholera situation [internet]. 2019 [cited 2019 June 3]. Available from:http://www.boe.moph.go.th/ boedb/surdata/disease.php?dcontent=old&ds=01
WHO. Cholera gamapserver [internet]. 2017 [cited 2019 June 3]. Available from: http://gamapserver. who.int/gho/interactive_charts/cholera/atlas.html
-