Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 :green_book: วัสดุสารสนเทศและระบบการจัดเก็บ - Coggle Diagram
บทที่ 4 :green_book:
วัสดุสารสนเทศและระบบการจัดเก็บ
ประเภทของวัสดุสารสนเทศห้องสมุด
วัสดุตีพิมพ์
หนังสือพิมพ์
สิ่งพิมพ์ที่เสนอข่าว เหตุการณ์ ความ
เคลื่อนไหวต่าง ๆ ออกเป็นประจ าทุกวัน
จุลสาร
คือ สิ่งพิมพ์ขนาดเล็ก ที่เสนอเรื่องราวต่าง ๆ เพียงเรื่อง
ใดเรื่องหนึ่งอย่างสั้น ๆ
วารสาร
สิ่งพิมพ์ที่เสนอบทความต่าง ๆ มี
กำหนดออกที่แน่นอน เช่น รายสัปดาห์ รายปักษ์ รายเดือน ฯลฯ
กฤตภาค
สิ่งพิมพ์ที่ทางห้องสมุดจัดท าขึ้น โดยการตัด
บทความส าคัญ ๆ จากสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ แล้วน ามาผนึกลงบนกระดาษ
หนังสือ
หนังสือความรู้ทั่วไป
คือ หนังสือที่ให้ความรู้ในเรื่องทั่ว ๆไป
หนังสือตำรา และแบบเรียน
คือ หนังสือที่ทางกระทรวงศึกษาธิการ
กำหนดให้ใช้ประกอบการเรียนการสอนตามหลักสูตร
หนังสืออ้างอิง
คือ หนังสือที่ใช้ส าหรับค้นคว้าอ้างอิงเพียงเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
หนังสือบันเทิงคดี
คือ หนังสือที่มุ่งให้ความสนุกสนานเพลิดเพลิน
หนังสือสารคดี
คือ หนังสือที่มุ่งให้ความรู้และสาระแก่ผู้อ่าน
สิ่งพิมพ์ที่เกิดจากความรู้ ความคิด และประสบการณ์
ของมนุษย์ ที่ถ่ายทอดออกมาเป็นตัวอักษรให้คนรุ่นหลังได้ศึกษา
วัสดุไม่ตีพิมพ์
โสตทัศนวัสดุ
วัสดุที่ถ่ายทอดความรู้ ความคิด ด้วยภาพและ
เสียงพร้อม ๆ กัน เช่น ภาพยนตร์ โทรทัศน์
วัสดุย่อส่วน
การย่อสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ให้เล็กลงกว่าเดิม แล้ว
บันทึกลงบนแผ่นฟิล์ม
ทัศนวัสดุ
วัสดุที่ถ่ายทอดความรู้ ความคิด ผ่านทางตา อาจดู
ด้วยตาเปล่า หรือใช้อุปกรณ์เป็นเครื่องฉายช่วย เช่น รูปภาพ แผ่นใส
ฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์
การจัดเก็บข้อมูลโดยผ่าน
คอมพิวเตอร์
โสตวัสดุ
วัสดุที่ใช้เสียงเป็นสื่อในการถ่ายทอดความรู้ เช่น
วิทยุ แผ่นเสียง ซีดีเพลง
ความหมาย
หมายถึง สื่อความรู้ทุกชนิดที่มีอยู่ใน
ห้องสมุด ทั้งวัสดุตีพิมพ์ และวัสดุไม่ตีพิมพ์
การจัดหมวดหมู่หนังสือ
การจัดหมวดหมู่หนังสือ หรือแยกประเภท ของหนังสือตามลักษณะเนื้อเรื่อง หรือตามลัษณะของคำประพันธ์และมีสัญลักษณ์แทนเนื้อเรื่องของหนังสือ อาจเป็นตัวเลข ตัวอักษร หรือทั้งตัวเลขตัวอักษร
ประโยชน์
๑. หนังสือแต่ละเล่มมีสัญลักษณ์ที่เข้าใจง่ายแทนเนื้อเรื่องในแต่ละหมวดหมู่ช่วยให้ผู้ใช้สามารถค้นหาหนังสือได้สะดวกรวดเร็ว
๒. หนังสือที่มีเนื้อหาอย่างเดียวกันจะอยู่ในหมวดวิชาเดียวกัน หรือหนังสือที่มีเนื้อเรื่องคล้ายคลึงกันจะอยู่ใกล้กัน
๓. หนังสือที่มีลักษณะค าประพันธ์อย่างเดียวกันจะอยู่ด้วยกัน
๔. ท าให้สามารถค้นหาหนังสือได้สะดวก รวดเร็ว และประหยัดเวลา
๕. ท าให้เจ้าหน้าที่สามารถจัดเก็บหนังสือเข้าที่ได้ถูกต้อง และรวดเร็ว
๖. ท าให้ทราบจ านวนหนังสือในแต่ละหมวดหมู่ว่ามีจ านวนมากน้อยเพียงใด
๗. เพิ่มประสิทธิภาพในการสืบค้นสารสนเทศได้สารสนเทศที่ถูกต้อง สมบูรณ์ รวดเร็ว ประหยัดเวลา และแรงงาน
ระบบทศนิยมดิ้วอี้
ความหมาย
ระบบทศนิยมของดิวอี้ (Dewey Decimal Classification) หรือเรียกย่อ ๆ ว่า ระบบ D.C. หรือ D.D.C. ผู้คิดค้นระบบนี้ คือ เมลวิล ดิวอี้(Melvil Dewey) เป็นผู้ช่วยบรรณารักษ์ชาวอเมริกัน อยู่ที่วิทยาลัยแอมเฮอร์ส (Amherst College)
การแบ่ง
ครั้ง 1
10 หมวดหมู่ใหญ่ ex. 100 ปรัชญา
ครั้ง 3
10 หมู่ย่อย ex. 615 อายุรเวช
ครั้ง 2
10 หมวดย่อย ex. 650 การจัดการ
ครั้ง 4
ทศนิยม ex. 371.216 กระบวนการรับสมัคร
ไม่มีที่สิ้นสุด
ผลงานที่สำคัญของ เมลวิล ดิวอี้
3 ข้อ
๑. คิดแผนการแบ่งหมู่หนังสือระบบทศนิยมขึ้น และมีการใช้อย่างแพร่หลายในห้องสมุดโรงเรียน
๒. ริเริ่มออกวารสาร Library Journal ซึ่งเป็นวารสารในวิชาชีพบรรณารักษศาสตร์ เป็นสื่อกลางการแลกเปลี่ยนความรู้ความคิดเห็นของบรรณารักษ์
๓. ก่อตั้งสมาคมห้องสมุดอเมริกันขึ้น ซึ่งเป็นสมาคมวิชาชีพที่สำคัญ ทำให้วิชาชีพบรรณารักษศาสตร์ได้รับการยอมรับจากสังคม
เลขเรียกหนังสือ
หมายถึง ตัวเลข ตัวหนังสือ หรือสัญลักษณ์อื่น ๆ ที่ใช้เป็นเครื่องหมายในการกำหนดหนังสือแต่ละเล่มในห้องสมุดเพื่อให้ทราบว่าหนังสือเล่มนั้นอยู่ที่ใดในห้องสมุด
ส่วนประกอบของเลขเรียกหนังสือ
๑. เลขหมู่หนังสือ หรือสัญลักษณ์แทนประเภทหนังสือ
๒. อักษรตัวแรกของชื่อผู้แต่งที่เป็นคนไทย หรืออักษรตัวแรกของนามสกุลผู้แต่งในกรณีที่ผู้แต่งเป็นชาวต่างชาติ
๓. เลขประจำตัวผู้แต่ง
๔. อักษรตัวแรกของชื่อหนังสือ
หลักการจัดเรียงหนังสือบนชั้น
๓. ถ้าทั้งเลขหมู่และอักษรตัวแรกของชื่อผู้แต่งซ้ำกัน เรียงตามลำดับอักษรตัว
แรกของชื่อเรื่อง
๔. หนังสือชื่อเรื่องเดียวกัน มีหลายฉบับ เรียงตามลำดับฉบับ หรือ copy
๒. ถ้าเลขหมู่ซ้ ากัน เรียงตามลำดับอักษรตัวแรกของชื่อผู้แต่ง
๕. หนังสือชุด ให้เรียงตามลำดับตามเล่ม (Volume)
๑. เรียงตามล าดับเลขเรียกหนังสือ จากเลขหมู่น้อยไปหาเลขหมู่มาก เรียง
จากซ้ายไปขวา และจากชั้นบนลงชั้นล่าง