Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคไข้ลากสาดใหญ่ Scrub typhus, images1-1, unnamed, unnamed (1),…
โรคไข้ลากสาดใหญ่
Scrub typhus
พยาธิสภาพของโรค
เชื้อ O. tsutsugamushi เข้าสู่Plasma membreane ของ Mammalian cell โดยขบวนการ Attachment และ Phagocytosis และจะหลุดจาก Phagosme อยู่อย่างอิสระและแบ่งตัวใน Cytoplasm ซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิด cell injury มีเชื้อบางตัวเข้าสู่ Mestothelial cell ในเส้นเลือดขนาดเล็กและเกิด Vasculitis ได้ทั่วร่างกายความรุนแรงของเชื้อขึ้นอยู่กับตัวเชื้อและภูมิต้านทานของ Host Humoral antibody
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลของโรค
ข้อวินิจฉัยที่2 เสี่ยงเกิดภาวะช็อกจากการติดเชื้อ(septic shock)
ข้อวินิจฉัยที่3 เสี่ยงต่อการเกิดภาวะปอดอักเสบจากการติดเชื้อ
ข้อวินิจฉัยข้อที่1 ผู้ป่วยไม่สุขสบายจากการมีไข้
กิจกรรมการพยาบาลของโรค
ข้อวินิจฉัยที่1
ติดตาม V/S ทุก1ชั่วโมง ประเมินอุณหภูมิ
กระตุ้นให้ดื่มน้ำมากๆ 2000 -3000 cc/day
ดูแลให้พักผ่อนเพียงพอ
รายงานแพทย์เพื่อพิจารณาให้ยาลดไข้
ดูแลเช็ดตัวลดไข้ด้วยน้ำธรรมดา เมื่ออุณหภูมิ>37.5เป็นเวลา 15-20 นาที
ข้อวินิจฉัยที่2
ติดตาม v/s ทุกๆ 1 ชั่วโมง เพื่อประเมินภาวะไข้
ดูแลให้ได้รับสารน้ำอย่างเพียงพอ
ให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาและเฝ้าระวังอาการข้างเคีย
ข้อวินิจฉัยที่3
แนะนำผู้ป่วยให้ดูแลตนเองให้แข็งแรงด้วยการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์
ให้ผู้ป่วยดื่มน้ำและพักผ่อนให้เพียงพอ
ติดตาม V/S และฟังเสียงปอด ทุก 1 ชั่วโมง
ให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ส่งเสริมกิจกรรมที่ลดการคั่งค้างของเสมหะ หรือให้ได้รับยาละลายเสมหะตามแผนการรักษา
ลักษณะอาการของโรค
ผิวหนังที่ถูกตัวไวกัด มักเป็นแผลบุ๋มสีดำ
ลักษณะคล้ายแผลถูกบุหรี่จี้(Echar)
ซึ่งพบอยู่นานประมาณ 6-18 วัน
พบได้ประมาณร้อยละ 30-40
ต่อมาผู้ป่วยจะมีอาการไข้สูง ปวดศีรษะมาก
โดยเฉพาะบริเวณขมับและหน้าผาก คลื่นไส้
อาเจียน หูอื้อ เหงื่อออก หนาวสั่น ปวดเมื่อยตามตัว
ผื่นนูนแดง(maculopupular rash) ตามลำตัวและกระจายไปยังแขน ขา ผื่นจะหายไปในเวลา 2-3 วัน
อาการที่พบบ่อย คือ ไอ เมื่่อเอกซ์เรย์ปอดพบการอักเสบของเนื้อปอดส่วนใหญ่เป็นแบบ Interstitial infilration บางรายเป็นแบบ Alvcolar infiltration
รายที่มีอาการรุนแรงจะเกิด
เกิดภาวะติดเชื้อและมีภาวะไหลเวียนเลือดล้มเหลว (scptic shock)
ไตวาย (Acute renal failure)
ตับวาย (Acute hepalic failure)
เยื่อหุ้มสมองหรือสมองอักเสบ (Meningoencephaliis)
ปอดอักเสบ (Pncumonitis)
ภาวะหายใจล้มเหลว (Acute respiratory failure)
ARDS (Acute respiratory distress syndrome)
DIC (Disscminated intravascular cougulopathy)
ภาหะของโรค
ไรอ่อน(Chigger)
การป้องกัน
ควรใส่เสื้อผ้าให้มิดชิดและทายากันแมลง ขณะเดินทางเข้าไปในแหล่งที่มีไรอ่อนอาศัยอยู่
ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมไม่ให้เป็นที่อยู่ของสัตว์รังโรคโดยเฉพาะหนู