Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Obstructive Jaundice - Coggle Diagram
Obstructive Jaundice
สาเหตุการเกิด
สาเหตุท่อทางเดินน้ำดี อุดตันที่พบได้บ่อยที่สุด คือ นิ่วในถุงน้ำดีที่ไหลตกลงมาตามท่อทางเดินน้ำดีและเกิดอุดตัน ซึ่งการอุดตันของท่อทางเดินน้ำดีจะขึ้นอยู่กับระดับของท่อน้ำดีที่ขยายตัว หากท่อน้ำดีขยายตัวอาจนึกถึงโรคของก้อนในตับ เนื้องอกในท่อทางเดินน้ำดี หากมีนิ่วในถุงน้ำดีหรือเนื้องอก อาจไปกดเบียดท่อทางเดินน้ำดีได้ หรือกรณีที่เกิดการอุดตันที่ท่อทางเดินน้ำดี ส่วนปลายอาจทำให้เกิดเนื้องอกที่อยู่บริเวณดังกล่าว เช่น มะเร็งท่อทางเดินน้ำดี มะเร็งตับอ่อน มะเร็งรูเปิดน้ำดี
-
เมื่อท่อน้ำดีอุดตัน น้ำดีจะย้อนไปที่ตับ เข้าสู้กระแสเลือดและไหลผ่านช่านไปทั่วร่างกายไปอยู่ที่เยื่อบุตา หรือน้ำปัสสาวะหรือที่เรียกกันว่าดีซ่าน ส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการตัวตาเหลือง ปัสสาวะสีเข้ม ซึ้งอาจทำให้ติดเชื้อหรือเสียชีวิตได้
อาการและอาการแสดงของโรค
นอกจากภาวะตัวตาเหลืองแล้ว ผู้ป่วยโรคท่อน้ำดีอุดตันจรกก้อนนิ่วหรือเนื้องอกจะมรอาการแตกต่างกันอยู่บ้าง ,อาการท่อน้ำดีอุดตันจากนิ่ง, นอกจากภาวะตัวตาเหลืองแล้ว ยังพบอาการปวดท้องช่วงกลางท้องระกว่างสะดือกับลิ้นปี่ ปวดร้าวไปที่หลัง ติดเชื้อ มีไข้ หนาวสั่น ส่วนท่อน้ำดีที่อุดตันที่เกิดจากเนื้องอกนั้น พองขึ้นเรื่อยแต่จะมีอาการตัวตาเหลืองและคันตามตัว เนื่องจากน้ำดีไปสะสมที่ผิวหนัง ท่อน้ำดีที่อุดกั้นจากเนื้องอก ร้อยละ90 จะเป็นมะเร็ง
-
-
การรักษา
ERCP c Stent (Endoscopic Retrograde Cholangiopancreatography )การส่องกล้องทางเดินน้ำดีและท่อตับอ่อน การส่องกล้องอีกแบบหนึ่งที่ถูกนำมาใช้เพือ่การรักษาโรคที่เกี่ยวข้องกับระบบท่อน้ำดีและตับอ่อน คือการส่องกล้องตรวจท่อทางเดินน้ำดีและท่อตับอ่อน หรือERCP
CNB:Core Needle Biopsy เป็นการเจาะชิ้นเนื้อมาตรวจทางพยาธิวิทยา โดยใช้เข็มเจาะผ่านทางผิวหนังไปยังบริเวณที่สงสัยว่าเป็นเนื้องอกหรือเนื้อร้ายของมะเร็ง
PTBD:Percutaneous Transhepatic Biliary Drainage เป็นการใส่ท่อช่วยระบายน้ำดี โดยการแทงเข็มผ่านผิวหนังไปยังท่อน้ำดี และจะผ่านการขดนำรวดและสอดท่อระบาย เมื่อได้ตำแหน่งที่ต้องการจะทำการขดปลายท่อระบายน้ำดีให้อยู่ในรูปแบบที่เหมาะสม
-
-
-
-
-
พยาธิสภาพ
เมื่อมีนิ่วอุดกั้นท่อน้ำดีร่วมจะ ทำให้เกิดรวามดันในท่อน้ำดีเพิ่มขึ้นทั้งถุงน้ำดีและท่อน้ำดีร่วมจะบีบตัวอย่างแรง เพื่อนขับน้ำดีออกจึงเกิดอาการปวดทองลักษณะปวดบิดจากการอุดกั้นที่นิ่วที่ไปขัดขวางในการไหลของน้ำดี เป็นเหตุให้บิลิลูบินคั่งอยู่ในเซลล์ตับ และถูกดูดซึมกลับเข้าสู่กระแสเลือดทำให้เกิดอาการตัวตาเหลือง (ดีซ่าน jaundice) อุจจาระที่ออกมามีสีซีดแชปัสสาวะมีสีเข้มน้ำดีในลำไส้เล็กเป็นตัวช่วยย่อยอาหารประเภทไขมันซึงทำให้ไขมันแตกตัวเป็นโมเลกุลเล็กลงเมื่อน้ำที่ไหลลงลำไส้เล็กยาก จึงทำให้การย่อยอาหารไขมันไม่ดีจะทำให้ผู้ป่วยแน่นท้อง และท้องอืดวิตามินเคซึงเป็นวิตามินที่ทำละลายไขมันจึงมีปริมาณลดลงสารที่ข่วยในการแข็งตัวของเลือดจะลดลงด้วยเพราะต้องใช้วิตตามินเค ช่วยสังเคราะห์จากตับtext
-