Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร - Coggle Diagram
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ด้านการเมือง การปกครอง
นโยบายของรัฐ
การศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของระบบสังคม
การดำเนินงานระบบต่างๆต่อเนื่องและสอดคล้องกัน
รากฐานของประชาธิปไตย
ความรู้ ความเข้าใจ พฤติกรรมประชาธิปไตย
ความรับผิดชอบต่อบ้านเมือง
บทบาท หน้าที่ของประชาชนด้านการเมือง การปกครอง
ความสัมพันธ์ของการเมือง การปกครองกับชีวิตประจำวัน
สิทธิ หน้าที่ของประชาชนต่อรัฐ
ระบบการเมืองการปกครอง
ประสบการณ์เรียนรู้
การปลูกฝัง
เนื้อหาสาระ
นโยบายของรัฐ
สร้างความเข้าใจให้กับประชาชน
ด้านเศรษฐกิจ
การเตรียมกำลังคน
แนวโน้มเศรษฐกิจของประเทศ
เพียงพอ เหมาะสม
ลดปัญหาการว่างงาน
สอดคล้องกับความต้องการ
การสูญเปล่าทางการศึกษา
ระดับกรรมกร ระดับช่างฝีมือ ระดับเชี่ยวชาญ
การลงทุนทางการศึกษา
การลงทุนที่สูญเปล่า
งบประมาณของรัฐ
ปริมาณ และคุณภาพ
ผลตอบแทน : กำลังคน
การพัฒนาอาชีพ
เกษตรกร : ชนบท
สอดคล้องต้องการของประเทศ
อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม การบริการ : ชุมชนเมือง
สอดคล้องกับท้องถิ่น
พัฒนาอาชีพตามศักยภาพ
การขยายตัวทางด้านอุตสาหกรรม
แนวโน้มและทิศทาง
สอดคล้องและสมดุลกับตลาดแรงงาน
ผลิตบัณฑิตเข้าสู่ภาคอุตสาหกรรม
การพัฒนาคุณลักษณะของบุคคลในระบบเศรษฐกิจ
รายได้ต่ำ > เศรษฐกิจระบบเปิด
เสริมความสามารถในการผลิต / งาน /อาชีพ
ซื้อสินค้าฟุ่มเฟือย / เพิ่มรายจ่าย
นิยมสินค้าราคาสูง
ขยันหมั่นเพียร อดออม มีสติ คิดสร้างสรรค์
แก้ไข / พัฒนาคุณลักษณะคนในระบบเศรษฐกิจ
การใช้ทรัพยากร
มีอยู่อย่างจำกัด
เกิดประยชน์ / รายได้สูงสถชุด และคุ้มค่า
ใช้ทรัพยากรในท้องถิ่น
กิจกรรมทางเศรษฐกิจครบวงจร
ด้านผู้เรียน
พัฒนาทางสติปัญญาของผู้เรียน
ความเข้าใจ
ความเป็นตัวเอง
ความคิดริเริ่ม
พัฒนาทางสังคมของผู้เรียน
ความพยายาม ความสามารถ
ความสนิทสนม
ความภาคภูมิ
พัฒนาทางจริยธรรมของผู้เรียน
ระเบียบสังคม
คำมั่ย สัญยา
หลักคุณธรรม
ธรรมชาติการเรียนรู่ของผู่้รียน
แบบคิดอเนกนัย
ใช้ประสบการณ์
รับรู้จินตนาการ
มองภาพรวม
แบบดูดซึม
ไตร่ตรอง
ใช้เหตุผล
คำนนึงถึงการประยุกตื์ใช้
ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาตร์และเทคโนโลยี
มีการพัฒนานไม่หยุดยั้ง
เรียนรู้เท่าทัน
ทันต่อการเปลียนแปลง
พัฒนาคนใช้เทคโนโลยีอย่างปลอดภัย
การนำวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการศึกษา
วิธีกาสอน อุปกรณ์ สื่อการสอนเท่าทันสมัย
มีความรู้ ความเข้าใจ เท่าทันสมัย
รู้เท่าทันนการเปลี่ยนแปลง
เรียนรู้ด้วยตนเอง
ด้านจิตวิทยา
จิตวิทยาการเรียนรู้กลุ่มมนุษยนิยม
Abraham Maslow ความต้องการพื้นฐานของมนุษย์
ความต้องการความรักและความเป็นเจ้าของ
ความต้องการได้รับความยกย่องนับถือ
ความต้องการความปลอดภัย/ความมั่นคง
ความต้องการด้านสุนทรียภาพ
ความต้องการทางร่างกาย
ความต้องการเข้าใจความเป็นจริงเกี่ยวกับตนเอง
Carl R. Rogers บรรยากาศที่ส้งเสริมการเรียนรู้
การยอมรับและให้เกียรติผู้เรียน ยอมรับไว้วางใจ
เข้าใจ เป็นกลาง ไม่อคติ
เป็นจริงตามธรรมชาติ
จิตวิทยาการเรียนรู้กลุ่มมนุษยนิยม
Jean Piaget พัฒนาการทางปัญญา 4 ขั้น
ขั้นก่อนปฏิบัติการ 2-7 ปี
ขั้นตอนการปฏิบัติการเป็นรูปธรรม 7-11 ปี
ขั้นใช้อวัยวะและประสาทสัมผัส แรกเกิดถึง 2 ขวบ
ขั้นปฏิบัติการที่เป็นทางการ 11-16 ปี
John Dewey
การเรียนรู้เกิดจากผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติและฝึกฝนด้วยตนเอง
Gestalt กฏแห่งการเรียนรู้
กฎแห่งความใกล้ชิด
กฎแห่งความใกล้เคียง
กฎแห่งความคล้ายคลึง
กฎแห่งความต่อเนื่อง
Robert M. Gagne ความสามารถในการเรียนรู้ของมนุษย์
ด้านคำพูด
ด้านทักษะ
ด้านความคิด
ด้านเจตคติ
ด้านสติปัญญา
จิตวิทยาการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
Edward L. Thorndike กฎแห่งการเรียนรู้
กฎแห่งการฝึกหัด
กฎแห่งผล
กฎแห่งความพร้อม
Edwin R. Guthrie
การเรียนรู้เกิดจากสิ่งเร้าแลพการตอบสนองที่เกิดไปด้วยกันอย่างใกล้ชิด เป็นการวางเงื่อนไขแบบติดกัน
ทฤษฎีการวางเงื่อไขแบบปฏิบัติการ
B.F Skinner
การเรียนรู้จากสิ่งแวดล้อมใหม่และสิ่งแวดล้อมที่ซับซ้อน เน้นพฤติกรรมที่สังเกตได้ ซึ่งเกิดจากความเต็มใจ และแสดงพฤติกรรมในสถานการณ์ใหม่ที่เป็นการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม ประสบการณ์ และมีการเสริมแรงให้พฤติกรรมนั้นเข้มแข็งและคงมนข฿้น
ด้านสังคม และวัฒนธรรม
ค่านิยมในสังคม
การศึกษาทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงค่านิยมในสังคม
ค่านิยมสังคมไทยปัจจุบัน
ค่านิยมที่เป็นอุปสรรคต่อความเจริญก้าวหน้าของสังคม
ค่านิยมที่ควรสร้างและปลูกฝัง
ธรรมชาติของคนในสังคม
ยกย่องผู้มีเงินและผู้มีอำนาจ
เชื่อโชคลางทางไสยศาสตร์
เคารพและคล้อยตามผู้มีวัยวุฒิสูง
นิยมเล่นพรรคเล่นพวก
ยกย่องบุคคลที่มีความรู้/การศึกษาสูง
เฉื่อยชาไม่กระตือรือร้น
ยึดมั่นในตัวบุคคลมากกว่าหลักการและเหตุผล
โครงสร้างของสังคม
สังคมชนบท/สังคมเกษตรกรรม
สังคมเมือง/สังคมอุตสหกรรม (แนวโน้มโครงสร้างสังคมในอนาคต)
การชี้นำสังคมในอนาคต
พัฒนาสังคมตามกระแสความเปลี่ยนแปลง
แนวโน้มของสังคมโลกอนาคต
ความต้องการและปัญหาสังคม
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ตั้งรับการเปลี่ยนแปลง
ด้านปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม/วิวัฒนาการนิยม
เน้นการปฏิบัติจริง สัมพันธ์กับสภาพจริง
ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
พัฒนาผู้เรียนในทุกด้าน
ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ตรง ตามความสนใจ
การศึกษาเป็นเครื่องมือถ่ายทอดวัฒนธรรมของสังคม
วิธีสอน โครงการ อภิปราย ปก้ปัญหารายบุคคล
ปรัชญาอัตนิยม/อัตถิภาวนิยม/สวภสพนิยม
เน้นปรับตัว เผชิญกับปัญหาต่างๆ อย่างมีความสุข
ผู้เรียนมีอิสระในการเลือกเรียน
ทุกคนมีชีวิตของตนเองได้
เน้นพัฒนาความสามารถ พัฒนาการของผู้เรียน
เชื่อว่า คน สภาพแวดล้อมเปลี่ยนแปลงได้
ครู คือผู้ชี้แนะแนวทาง
ปรัชญานิรันตรนิยม
เตรียมตัวเพื่อการดำรงชีวิต
จัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนทุกคนเหมือนกัน
เนื้อหาวิชา จะช่วยพัฒนาปัญญาและจิตใจ
วิธีสอน อ่าาน เขียน ท่องจำ คำนวณ ถามตอบ
สิ่งที่คงทนถาวร เป็นสิ่งที่ดีงาม
ปรัชญาปฏิรูปนิยม
ผู้เรียนสำรวจความสนใจ ความต้องการของตนเอง
วิธีสอน อภิปราย แสดงความคิดเห็น
ผู้เรียนหาประสบการณ์ด้วยตนเอง
ตารางสอนจัดแบบยืดหยุ่น
จัดการศึกษาเพื่อแก้ปัญหาสังคม สร้างสังคมให้ดี
ประเมินผลพัฒนาการทุกด้าน และทัศนคติ
การศึกษาเป็นเครื่องมือเปลี่ยนแปลงสังคม
ปรัชญาสารัตถนิยมหรือสาระนิยม
เนื้อหาแยกวิชา เพื่อเตรียมผู้เรียนให้มีชีวิตที่ดี
ยึดครูเป็นศูนย์กลาง
ถ่ายทอด อนุรักษ์สิ่งดีงาม ถูกต้อง วัฒนธรรม
ครูบอกเล่า บรรยาย อธิบาย
ถือว่าบุคคลเป็นส่วนหนึ่งของสังคม
ปรัเมินผลเน้นด้านความรู้
ปรัชญา idealism ปรัชญาสัจนิยม