Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 การพยาบาลวัยทารกจนถึงวัยรุ่นแบบองค์รวมที่มีความผิดปกติของหัวใจและก…
บทที่ 9 การพยาบาลวัยทารกจนถึงวัยรุ่นแบบองค์รวมที่มีความผิดปกติของหัวใจและการไหลเวียนเลือด
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดไม่เขียว
Acyanotic Heart Disease
โรคหัวใจแต่กำเนิด
1.การติดเชื้อของมารดา
มารดาได้รับยาในขณะตั้งครรภ์
ความเจ็บป่วยของมารดา
ความผิดปกติด้านพันธุกรรม
สาเหตุ
85-90% ไม่มีสาเหตุของการเกิดโรคหัวใจแต่กำเนิดชัดเจน15% ที่พบสาเหตุ
การแบ่งประเภทโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด
แบ่งตามอาการทางคลินิก
ชนิดมีอาการเขียว (cyanotic type)
และชนิดไม่มีอาการเขียว(acyanotictype)
แบ่งตามการมีเลือดไปปอด
ชนิดมีเลือดไปปอดมาก(increased
pulmonary blood flow) ได้แก่
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด VSD, ASD,PDA
ชนิดมีเลือดไปปอดน้อย (decreased
pulmonary blood flow) ได้แก่ โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด TOF, หลอดเลือดพัลโมนารีตีบหรือตัน(pulmonarystenosis: PS),
ลิ้นไตรคัสปิดตัน(tricuspid atresia: TA)
Acyanotic heart disease
กลุ่มโรคหัวใจแต่กำเนิดชนิดเลือดไปเลี้ยงปอดเพิ่มขึ้น
Left to Right Shunt
เลือดไหลจากที่ความดันสูงไปต่ำ เลือดกลับไปปอดเพิ่ม
ความต้านทานในหลอดเลือดเพิ่ม ความดันเลือดในปอดเพิ่ม
การไหลลัดของเลือดกลับทิศ The shunt reverses Rt to Lt
Eisenmenger syndrome
เลือดผสมไปเลี้ยงร่างกาย
Hypoxia
รูรั่วผนังกั้นหัวใจห้องล่าง
รูรั่วผนังกั้นหัวใจห้องบน
การคงอยู่ของหลอดเลือดแดงที่เชื่อมระหว่างหลอดเลือดแดงใหญ่ทั้ง 2
หลอดเลือดแดงใหญ่ไปเลี้ยงร่งกายส่วนล่างตีบ
Management
รายที่มี HT ยาควบคุมความดัน
รายที่มี HFยาควบคุมอาการในทารก
PGE1 เพื่อซะลอการปิด PDA
การแก้ไขรอยตีบ การสวนหัวใจเพื่อถ่างขยาย/การผ่าตัด
การรักษา Aortic stenosis (AS)
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดเขียว
Cyanotic Heart Disease
Cyanotic heart disease
Decreased
pulmonary blood flow
Tetralogy of Fallot
Pul. Vascular Obstruction,
Pulmonary Atresia
Tricuspid Atresia
Ebstein’s Anomaly of the
tricuspid value
Persistent truncus
arteriosus type IV
Increased
pulmonary blood flow
Transposition of the great
Arteries
Total Anomalous pul.
venous drainage
Common Atrium
Persistent truncus
arteriosus type I, II, III
อาการและอาการแสดง
เขียวตามริมฝี ปาก เล็บ (cyanosis)
นิ้ว ปุ้ม (clubbing fingers)
เหนื่อยง่าย
เจริญเติบโตช้า
ภาวะขาดออกซเิจนไปเลี้ยงสมองชั่วคราว
การรักษา ToF
แบบประคับประคอง
การให้ธาตุเหล็ก
ยาคลายการหดเกร็งของกล้ามเนื้หัวใจ ยาต้านเบต้า เช่น propranolol
การผ่าตัด
การผ่าตัดช่วยเหลือชั่วคราว
การผ่าตัดแก้ไขความผิดปกติ
กลุ่มที่มีเลือดไปปอดมาก
(Increased pulmonary blood flow)
เกิดจากการที่มีเลือดดำและเลือดแดงปนกันก่อนไปเลี้ยง ร่างกาย โดยไม่การตีบแคบของหลอดเลือดไปปอด
กลุ่มที่มีการสลับกันของหลอดเลือดดำและหลอดหลอดเลือดดำและหลอด
Congestive Heart Failure
Systolic Heart Failure
เกิดจากกล้ามเนื้อหัวใจไม่สามารถสูบฉีดเลือดออกจากหัวใจได้ ปริมาณเลือดที่ออกไปเลี้ยงตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายจึงลดลง
Diastolic Heart Failure
เกิดจากกล้ามเนื้อหัวใจไม่มีความยืดหยุ่น จึงส่งผลให้เลือดไหลเข้าสู่หัวใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ การสูบฉีดเลือดออกจากหัวใจจึงน้อยลง
Ross classification for children with heart failure
Class I ไม่มีอาการผิดปกติ
Class II เด็กทารกมีอาการหายใจเร็วเล็กน้อยและเหงื่อออกขณะดูดนม การเติบโตยังอยู่ในเกณฑ์ปกติ
เด็กโตจะมีอาการเหนื่อยเล็กน้อยเวลาออกกำลังกาย
Class III เด็กทารกหายใจเร็วมากและเหงื่อออกขณะดูดนม ใช้เวลาในการดูดนมนานกว่าปกติ การเติบโตช้ากว่าปกติ
เด็กโตจะมีอาการเหนื่อยมาเวลาออกกำลังกาย
Class IV เด็กจะมีอาการหายใจเร็ว หน้าอกบุ๋ม grunting และเหงื่อออกขณะพัก
อาการและอาการแสดงของภาวะหัวใจวายในเด็ก
-ปัญหาการกิน( ขย้อน อาเจียนปฎิเสธการกิน )
-สีผิวซีด(pallor)
-เหงื่อออกมาก
-หายใจเร็ว
การพยาบาล
ดูแลให้ออกซิเจน
ให้นอนในท่าศีรษะสูง fowler’s position หรือ semi-fowler’s position
ดูแลให้ยาตามแผนการรักษา
บันทึกสัญญาณชีพทุก 1-2 ชั่วโมง หรือ ทุก 4 ชั่วโมงแล้วแต่สภาวะและความรุนแรง
-อัตราการหายใจ
-วัดความดันโลหิต
ส่งเสริมสนับสนุนบิดามารดาที่อยู่ดูแลบุตร โดยให้คำแนะนำการช่วยเหลืออย่างใกล้ชิดให้กำลังใจเป็นระยะๆ
Rheumatic Heart Disease
ไข้รูมาติค(Rhuematic Fever)เป็นโรคที่เกิดขึ้นตามหลัง
ภาวะต่อมทอนซิลหรือคออักเสบจากเชื้อโรค B-hemolytic
streptococcus group A
อาการต่างๆในเด็ก
Chorea อาการทางสมองที่ ควบคุมกล้ามเนื้อให้
ทำงานตามต้องการไม่ได้
Carditis การอักเสบของหัวใจ ได้ทุกสวนโดยเฉพาะลิ้นหัวใจ
Erythema marginatum ผิวหนังจะมีผื่นแดงรูปร่าง
คล้ายแผนที่ บริเวณลำตัว และแขนขา
Polyarthritisข้อใหญ่ๆ อักเสบ บวมและปวด (ข้อไหล่ ข้อศอก
ข้อมือ ข้อสะโพก ข้อเข่า และข้อเห้า)
Fever ร่วมกับประวัติคออักเสบ
Abdominal pain ปวดห้อง พบในบางราย
Subcutaneous nodulesตุ่มแข็งชั้นใต้ผิวหนัง
การรักษา
▪Bed rest
▪Salicylate
▪Diuretic Digitasis
▪Steroids for severe
carditis with CHF
▪Surgery
ประเภทผู้ป่วย
ระยะเวลาในการป้องกันทุติยภูมิ
ไม่มีอาการหัวใจอักเสบ
มีอาการหัวใจอักเสบที่ไม่รุ่นแรง
มีอาการหัวใจอักเสบที่รุนแรง
หลงัการผ่าตดัโรคลิ้นหัวใจรูมาตก
อย่างน้อย 5 ปีหลังการเกิดโรคไข้รูมาติก
และไม่หยุดการป้องกันก่อนอายุ 21 ปี
อย่างน้อย 10 ปีหลังการเกิดโรคไข้รูมาติก
และไม่หยุดการป้องกันก่อนอายุ 21 ปี
อย่างน้อย 10 ปีหลังการเกิดโรคไข้รูมาติก
และไม่หยุดการป้องกันก่อนอายุ 40 ปี
หรือบางกรณีให้ไปตลอดชีวิต
ตลอดชีวิต
Kawasaki Disease
-มีการอักเสบของหลอดเลือดแดงทั่วร่างกาย
-พบบ่อย เด็ก <5 ปี บ่อยสุด 2-3 ปี
-หายได้เอง
-20-25% ของผู้ป่วยที่ไม่ได้รักษาจะมีความผิดปกติของ
Coronary arteries coronary aneurysm
อาการต่างๆในเด็ก
-Feverไข้สูง และสูงเป็นพักๆ นาน 1-2 สป.
-Cervical lymph node
-Rash ผื่นตามตัว แขนขาผื่น มีได้หลายแบบ ไม่คันเกิดหลังจากมีไข้ 2-3 วัน
-ฝ่ามือและฝ่าเท้าบวมแดง ไม่เจ็บผิวหนังลอกบริเวณปลายของเล็บมือและเท้า
-ตาแดงโดยไม่มีขี้ตา
-ริมฝี ปากแดง แห้ง ต่อมาจะแตกลอก
-ลิ้นแดงคล้ายลูกสตอร์เบอรี่
“Acute phase” 1-2 สัปดาห์
▪High fever >39 C นานกว่า 5 วัน
▪Extremely red eyes (conjunctivitis)
without a thick discharge
“Subacute phase” 2 สป.
▪ เริ่มจากอาการไข้ดีขึ้น
▪Peeling of the skin on the hands
and feet, especially the tips of the fingers and toes, often in large sheets ผิวหนังลอก
▪ Joint pain ปวดข้อ
▪Diarrhea ท้องเสีย
▪Vomiting อาเจียน
▪Abdominal pain ปวดท้อง Lab thrombocytosis
3.“Convalescent phase”
▪S&S เริ่มดีขึ้นช้าๆ
▪อาจมีภาวะแทรกซ ้อน
การรักษา
มียา 2 ตัว
-ASA
-IVIG
การให้วัคซีนในผู้ป่วย Kawasaki ที่ได้รับ IVIG
1.การให้วัคซีนชนิดมีชีวิต (live attenuated vaccine) เช่น วัคซีนโรคหัด(measles vaccine, MMR vaccine) และ วัคซีนโรคสุกใส (varicella vaccine) ควรให้อย่างน้อย 11 เดือนหลังจากได้รับIVIG เนื่องจากการให้ IVIGในขนาดสูงจะมีผลรบกวนการเกิดภูมิคุ้มกัน
ในผู้ป่วย Kawasaki ที่รับยา aspirin ระยะยาว เช่น รายที่เกิดภาวะ coronary aneurysm พิจารณาให้ influenza vaccine เนื่องจากมีความเสี่ยงต่อการ เกิดภาวะ Reye’s syndrome
Infective Endocarditis
Definition
เป็นภาวะที่หัวใจมีการติดเชื้อโดยเฉพาะส่วนลิ้นหัวใจ มักเกิดการติดเชื้อมากที่สุด ซึ่งการติดเชื้อส่งผลให้เกิดลิ้นหัวใจรั่ว การติดเชื้อในกระแสเลือด และเกิด Embolic phenomenal ตามมา
เชื้อรา
แบคทีเรีย: a-hemolytic streptococcus/staphylococcus aureus
กลุ่มเสี่ยงที่จะเป็น IE
-CHD
-กลุ่มผู้ป่วยที่ใสลิ้นหัวใจเทียม/cardiac device ต่างๆ
-ใส่ central line และให้ยา
Infective Endocarditis (IE)
Acute bacterial endocarditis
(เยื่อบุหัวใจอักเสบจากเชื้อแบคทีเรียเฉียบพลัน)
-มักจะเริ่มต้นทันทีที่มีไข้สูง (38.9-40C)
-อัตราการเต้นหัวใจเร็ว
-ลิ้นหัวใจเสียหายอย่างรวดเร็ว หัวใจทำงาน
หนัก ทำให้เกิดหัวใจล้มเหลว
Subacute bacterial endocarditis
(เยื่อบุหัวใจอักเสบจากเชื้อแบคทีเรียกึ่งเฉียบพลัน)
-อาจทำให้เกิดอาการ เช่น อ่อนเพลีย มีไข้เล็กน้อย
-น้ำหนักลด เหงื่อออกและโลหิตจาง
-อาการเหล่านี้อาจค่อยเป็นค่อยไปและอาจเกิดขึ้นหลายเดือนก่อนเยื่อบุหัวใจอักเสบส่งผลให้เกิดการอุดต้นของหลอดเลือดแดงหรือทำให้สิ้นหัวใจเสียหาย
อาการ
-Fever
-Roth spots
-Osler nodes
-Murmur
-Janeway lesions
-Anemia
-Nail-bed hemorrhage
-Emboli
การรักษา
-ให้ยาปฏิชีวนะชนิดฉีด 4-6 สัปดาห์
-รักษาอาการหัวใจล้มเหลว (heart failure)
-ผู้ป่วยที่มีอาการแย่ลงหลังการรักษาแพทย์อาจพิจารณา
ผ่าตัดเพื่อซ่อมแซมลิ้นหัวใจที่เสียการทำงานหรืออาจต้อง
ใสเครื่องกระตุ้นหัวใจ
Congenital Heart Disease
Acquired Heart Disorder
นางสาวศิรภัทร ตุดเอียด เลขที่81