Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หูและการได้ยิน, Auditory canal, กลไกลการได้ยินเสียง, นางสาวชลธิชา คงทอง…
หูและการได้ยิน
หูชั้นนอก
1.หูชั้นนอก ประกอบด้วยใบหู ช่องหูหรือรูหู (Auditory canal) และเยื่อเเก้วหู(Tympanic membrane) -ใบหูทำหน้าที่ในการรับเสียง -ช่องเสียง มีลักษณะเป็นท่อยาว โดยความดันของเสียงตอนปลายท่อด้านในที่ปิดอยู่จึงมีมากกว่าปากท่อด้านนอก ความดันที่เพิ่มนั้นจะเกิดเมื่อความยาวของท่อ4เท่า คือความดังเมื่อผ่านช่องหูจะเพิ่มขึ้น12เดซิเบล ในช่วงความถี่ 2400-6000 Hz ช่องหูทำหน้าที่ในการกำเนิดเสียง (Resonsnce) ซึ่งสั่นด้วยความถี่ประมาณ3000 เฮิรตซ์ แล้วส่งไปยังเยื่อเเก้วหู
หูส่วนกลาง
2.หูส่วนกลาง ทำหน้าที่ปรับเปลี่ยนคลื่นเสียงเพื่อให้เข้าไปกระตุ้นหูชั้นใน
-โดยการเปลี่ยนพลังงานเสียงจากอากาศให้ผ่าช่องหูชั้นกลาง เข้าไปทำการสั่นสะเทือนของของเหลว
-ภายในหูชั้นกลางประกอบด้วยกระดูก3ชิ้น (Ossicles) คือกระดูกรูปฆ้อน กระดูกรูปทั่ง และกระดูกรูปโกรน
-กระดูกทั้ง3ทำหน้าที่เปลี่ยนคลื่นเสียงที่มากระทบแก้วหูให้เป็นคลื่นของของเหลวขึ้นในหูส่วนใน
-หูส่วนกลางนี้ติดต่อกับโพรงอากาศผ่านหลอดยูสเตเชียน(eustachian)ปกติช่องนี้จะปิด
-แต่ในขณะเคี้ยวหรือกลืนอาหารท่อนี้จะเแิด อากาศภายในหูส่วนกลาง จึงสามารถติดต่อกับภายนอกได้เป็นการปรับความดัน2ด้านของเยื่อแก้วหูให้เท่ากัน ทำให้การได้ยินดีขึ้น
หูส่วนใน
3.หูส่วนใน
-หลอดครึ่งวงกลม3หลอด (semicirculaar cansa) ทำหน้าที่ควบคุมการสมดุลของร่างกาย
-กระดูกรูปหอย(cochlea) ลักษณะคล้ายหอยโข่ง ภายในบรรจุของเหลว มีเยื่อบาซิลาร์ (Basilar) ตรงปาทางเข้าเป็นช่องรูเปิดรูปไข่และวงกลม ตลอดความยาวของเยื่อบาซิลล่าร์มีปรายประสาทที่ไวต่อเสียงที่มีความถี่ต่ำๆกันเรียงรายอยู่
-ปลายประสาทที่อยู่กันค่อนไปทางช่องรูเปิดรูปไข่จะไวต่อเสียงที่มีความถี่สูง
-ส่วนปลายประสาทที่อยู่ลึก เข้าไปข้างในจะไวต่อเสียงที่มีความถี่ต่ำ
-
-
-