Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 การท่าเรือแห่งประเทศไทย และท่าเรือที่เกี่ยวข้อง - Coggle Diagram
บทที่ 9
การท่าเรือแห่งประเทศไทย และท่าเรือที่เกี่ยวข้อง
ประวัติความเป็นมา
หลังจากประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบบสมบูรณาญาสิทธิราชมาเป็นระบอบประชาธิปไตย เมื่อปี พ.ศ. 2475 ความคิดริเริ่มที่จะก่อสร้างท่าเรือของรัฐให้ทันสมัย โดยพลเรือโท พระยาราชวังซึ่งดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมขณะนั้น ได้เสนอโดรงการขุดลอกสันตอนปากน้ำเจ้พระยา เพื่อให้เรือเดินสมุทรขนาตใหญ่สามารถผ่านร่องน้ำเข้ามาบรรทุก-ขนถ่ายสินค้าจากท่าเรืออย่างสะดวกและปลอดภัย
หน้าที่และความรับผิดขอบ
การขุดลอก การบำรุงรักษาร่องน้ำทางเดินเรือและแอ่งจอตเรือ
การควบคุมการขนถ่ายและบรรทุกสินค้า
การยกชน เคลื่อนย้าย เก็บรักษา และส่งมอบสินค้าให้แก่เจ้าของสินค้า
ความร่วมมือ และการประสานงานกับส่วนราชการ และท่าเรือต่างประเทศ
การพัฒนาและปรับปรุงกิจาารท่าเรือภายใต้การดูแลขชองการท่าเรือฯ ให้เจริญ
ก้าวหน้า ทันสมัยตามภาวะเศรษฐกิจ
วิสัยทัศน์
บริหารและพัฒนาท่าเรือให้เป็นโครงสร้างพื้นฐาน ที่สำคัญเพื่อเป็นปัจจัยเสริมสร้าง
ร่วมทุนกับภาครัฐ ภาคเอกชนในกิจการท่เรือและกิจการที่เกี่ยวเนื่อง เพื่อพัฒนาระบบการขนส่งและการขนถ่ายสินค้า ให้มีโตรงข่ายเชื่อมโยง ระหว่างท่าเรือ และส่งเสริมการขนส่ง
เตรียมความพร้อมการเข้าสู่ธุรกิจแบบเอกชนตามนโยบายรัฐบาล
ด้านการเงิน
คำเนินการจัดหาเอกชนเข้ามาบริหารและประกอบการท่เทียบเรือเพื่อให้มีรายได้เป็นไปตามแผน
ดำเนินการใช้ประโยชน์จากพื้นที่ให้เต็มตามโครงการต้านการตลาด ส่งเสริมการตลาดโดยเข้าถึงกลุ่มเป้หมาย ผู้ใช้บริการ และกำหนดรูปแบบ
การท่าเรือแห่งประเทศไทย และท่าเรือที่เกี่ยวข้อง
การท่เรือแห่งประเทศไทย (กทท.) เป็นรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงคมนาดม ก่อตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติการท่เรือแห่งประเทศไทย พุทธศักราช 2494 มีวัตถุประสงค์ เพื่อต่ำเนินการ
กิจการทำเรือ เพื่อประโยชน์แห่งรัฐและประชาชน ปัจจุบันการท่เรือแห่งประเทศไทยรับผิดชอบบริหารท่าเรือที่สำคัญ ได้แก่ ท่าเรือกรุงเทพ ท่าเรือแหลมฉบัง ท่าเรือเชียงแสน ท่าเรือเชียงของและท่าเรือระนอง
นโยบาย
ด้านการให้บริการ พัฒนาท่าเทียบเรือและสิ่งอำนวยดวามสะดวกให้สามารถรองรับสินค้าที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคตพร้อมทั้งพัฒนาท่เทียบเรือเพื่อรองรับสินค้าถ่ายลำ การชนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ การเดินเรือชายฝั่งและเรือท่องเที่ยวด้านการบริหาร ให้เอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงานและพัฒนาการดำเนินงานธุรกิจแบบเอกชน
ความร่วมมือกับองค์กรระหว่างประเทศต่าง ๆ การท่าเรือฯ
ได้ดำเนินนโยบายประสานความร่วมมือกับองค์กรระหว่างประเทศต่าง ๆ อย่างต่อเนื่องเพื่อเป็นการยกระดับมาตรฐานการดำเนินงาน และการอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล ทั้งในรูปของการแลกเปลี่ยนความรู้ ข้อมูลข่าวสาว การประชุม การศึกษาอบรมและดูงานที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมท่าเรือ ตลอดจนการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ กับหน่วยงานทั้งภาค
สถานการณ์ทั่วไปของท่าเรือกรุงเทพ
ท่าเรือกรุงเทพมีปริมาณสินค้ารอเข้าเทียนท่ามหาศาล แต่ต้องลตระตับสินค้าผ่าน
พนักงานการท่าเรือฯ ที่มีความรู้ตวามสามารถในการปฏิบัติงานในท่าเรือเป็นความ
เชี่ยวชาญพิเศษฉพาะต้าน เช่น การขับรถเครื่องมือหนักชนาตใหญ่ การปฏิบัติการทำเรือวิศวกรรม
ท่าเรือ ผังแม่บทการใช้พื้นที่ท่าเรือ การเงิน การบัญชี และผ่านการอบรมทั้งในและต่างประเทศ
ท่าเรือที่เกี่ยวข้องท่าเรือกรุงเทพ (ทกท)สถานที่ตั้ง
ตั้งอยู่ระหว่างหลักกิโลเมตรที่
26.5 ถึง
28.5 บนฝั่งซ้ายของแม่น้ำเจ้าพระยา ตำบลคลองเตย ปากดลอง พระโขนง กรุงเทพฯ
ท่าเรือแหลมฉบัง (ทลฉ)
วัตถุประสงค์สำคัญของกรก่อสร้างท่าเรือแหลมฉบังเพื่อรับเรือขนาดใหญ่ที่ไม่สามารถเข้าเทียบท่าที่ท่าเรือกรุงเทพได้และเพื่อให้เป็นโครงสร้างพื้นฐานของการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออกและการส่งเสริมการส่งออกที่สำคัญของไทยในอนาคต
วิสัยทัศน์
ท่าเรือแหลมฉบัง ซึ่งเป็นทำเรือหลักของประเทศให้เป็นท่าเรือที่ทันสมัยระดับโลก มุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางและสามารถรองรับการขยายตัวของปริมาณการขนส่งอย่างต่อเนื่อง