Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ฝีเต้านม (Breast abscess), นางสาววิชุดา รัตชาตา เลขที่111 …
ฝีเต้านม (Breast abscess)
ความหมาย
ภาวะที่เกิดการอักเสบติดเชื้อแล้วเกิดน้ำหนองรวมกันเป็นกลุ่มในเต้านมทำให้ผิวหนังเหนือบริเวณที่เกิดฝีหนองเปลลี่ยนแปลงมีลักษณะคล้ำ หรือช้ำหนองมักเกิดขึ้นในช่วง 2-3 สัปดาห์หลังคลอด
พยาธิสภาพ
Staphylococcus aureus
หัวนมแตก
อักเสบติดเชื้อ (mastitis)
เพียงส่วนเดียวของเต้านม (lobe)
แบคที่เรียเจริญเติบโต และแพร่กระจายไป lobe อื่น
ฝีหนองที่เต้านม
(Breast abscess)
อาการ
ผู้ป่วยจะมีอาการไข้ หนาวสั่น ปวดเมื่อยตามตัว และอาจมีอาการคลื่นไส้อาเจียนได้
ต่อมน้ำเหลืองที่ใต้รักแร้ข้างเดียวกับเต้านมข้างที่เป็นฝีจะโตและเจ็บร่วมด้วย
คลำได้ก้อนที่กดเจ็บมากของเต้านม และสีของผิวหนังเหนือบริเวณที่มีก้อนเปลี่ยนไปจากปกติ
ถ้าหากปล่อยไว้ไม่รักษา บางครั้งอาจทำให้ฝีแตกและมีหนองไหลออกมาได้
เต้านมข้างที่เป็นฝีจะมีลักษณะบวมแดง ร้อน และเจ็บปวดมาก
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
มีประวัติการติดเชื้อที่เต้านมหรือหัวนม
มีความผิดปกติที่เต้านม หรือได้รับการผ่าตัดเต้า
เต้านมคัดตึง หรือมีน้ำนมคั่งในเต้านม
ตั้งครรภ์ครั้งแรก
การติดเชื้อที่เต้านม
อายุ > 30 ปี
ท่อน้ำนมอุดตัน
ประวัติสูบบุหรี่
หัวนมแตก หรือมีแผลที่หัวนม
มารดาหลังคลอดที่ทำงานนอกบ้าน
การพยาบาล
เสี่ยงต่อภาวะติดเชื้อที่เต้านม
แนะนำมารดาสวมเสื้อชั้นใน โดยเลือกชุดชั้นในที่ไม่คับหรือหลวมเกิน
ไป
สอนวิธีการเลี้ยงลูกด้วยนมอย่างถูกวิธี เพื่อป้องกันไม่ให้หัวนมถลอกหัวนมแตก แนะนำมารดาให้เปลี่ยนท่าให้นมบุตรบ่อย ๆ
ทำความสะอาดเต้านมและหัวนมให้หมดด้วยน้ำสะอาดหลีกเลี่ยงการใช้สบู่หรือสารอื่นที่ทำให้หัวนมแห้ง
หากมีอาการคัตตึงเต้านมบีบน้ำนมออกให้ลานนมอ่อนนุ่มและนวดเต้านมเบาๆก่อนให้ทารกดูด และกระตุ้นให้ทารกดูดนมบ่อย ๆ กรณีที่คัตติ้ง
มากแนะนำประคบอุ่นที่เต้านมก่อนให้นมบุตร
แนะนำมารดาให้ล้างมือทุกครั้งที่สัมผัสเต้านมหรือก่อนให้นมบุตร
ไม่สุขสบายเนื่องจากมีการอักเสบ
ติดเชื้อที่เต้านมและมีฝีหนองที่เต้านม
ดูแลให้ได้รับยาบรรเทาปวดตามแผนการรักษา
แนะนำสวมเสื้อชั้นใน หรือพันผ้า หรือสวมเสื้อชั้นในที่ไม่คับแน่นเกินไป
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ในกรณีที่แพทย์ฝ่าผีหนอง เปิดแผลดูแลทำความสะอาดแผลวันละ 2ครั้ง กรณีที่แพทย์อัดแผลด้วยผ้าก๊อซเมื่อครบ 24 ชั่วโมงเปิดทำแผลและเปลี่ยนผ้าก็อซใหม่ที่มีขนาดเล็กลง หากพบว่าแผลมีเลือดหนองเพิ่มขึ้นหรือมีกลิ่นเหม็นรีบรายงนแพทย์กรณีผ่าฝัหนองการใส่ drainควรดูแลความสะอาดและสังเกตลักษณะของสารคัดหลังที่ออกมา
กรณีเต้านมอักเสบ สามารถให้ลูกดูดนมได้ หากเต้านมเป็นผีหนอง ควร
งดให้ทารกดูดในข้างที่เป็นฝึโดยบีบระบายน้ำนมออกแทน และให้
ทารกดูดในข้างที่ไม่เป็นฝี
แนะนำมารดาให้สังเกตอาการผิดปกติให้รีบแจ้งพยาบาล
แนะนำการรักษาความสะอาดร่างกายการส่งเสริมสุขภาพเพื่อให้ร่างกาย
ประคบร้อนหรืออาจใช้ความร้อนเป่า
ลดการกระตุ้นเต้านมและหัวนมบริเวณที่มีการติดเชื้อ
จัดสิ่งแวดล้อมให้สะอาดสงบ
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะเพื่อช่วยฆ่าเชื้อแบคทีเรียที่เป็นสาเหตุของ
การเกิดฝี
การระบายเอาหนองที่เต้านมออกโดยการใช้เข็มขนาด
ใหญ่ (เบอร์ 18)
บรรเทาอาการปวด ให้รับประทานยาแก้ปวดลดไข้
(analgesics and antipyretics)
นางสาววิชุดา รัตชาตา เลขที่111
รหัสนักศึกษา61113301112