Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลสุขภาพคนพิการอย่างต่อเนื่องที่บ้านและในชุมชน, นางสาวอรนุช …
การดูแลสุขภาพคนพิการอย่างต่อเนื่องที่บ้านและในชุมชน
การดูแลสุขภาพคนพิการด้านร่างกายและจิตใจ
ด้่านร่างกาย
การพักผ่อน
ส่งเสริมพัฒนาการใช้ชีวิตในประจำวันอย่างถูกวิธี
การออกกำลังกายและดูแลสุขภาพ
ด้านจิตใจ
มีความเข้าใจและอดทนจากคนรอบข้างอย่างเหมาะสม
การเอาใจใส่
ให้เขาตัดสินใจเองไม่ควรตัดสินใจแทนเขา
ไม่ควรจะช่วยเหลือเขาทุกอย่างควรจะช่วยเป็นบางอย่าง
ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในคนพิการ
โรคเรื้อรัง คือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูงและหลอดเลือดสมอง
อุบัติเหตุ
สังคมผู้สูงอายุ โดยส่วนใหญ่ผู้สูงอายุจะมีโรคเรื้อรังประจำตัว จะมีความพิการร่วมด้วย
การสร้างเสริมสุขภาพด้วยพฤติกรรม 3 อ 2 ส
อ อาหาร พฤติกรรมการบริโภคอาหาร
อ ออกกำลังกาย พฤติกรรมการออกกำลังกาย
อ อารมณ์ พฤติกรรมด้านการจัดการอารมณ์
ส สูบบุหรี่ พฤติกรรมการสูบบุหรี่
ส ดื่มสุรา พฤติกรรมการดื่มสุรา
ความหมาย
องค์การอนามัยโลก (WHO)ให้ความหมาย ความพิการ (Disability)
คนพิการ(Person With Disability) หมายถึงข้อจำกัดหรือการขาดความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรมใดๆ
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554ไดให้ความหมายของคำว่า “พิการ” หมายความว่าเสียอัวยวะมีแขนขาเป็นต้นเสียไปจากสภาพเดิม เช่น แขนพิการ ตาพิการ บางทีใช้เข้าคู่กับคำพิกล เป็น พิกลพิการสำหรับคำว่า “คนพิการ” (Person With Disability) หมายความว่าคนที่มีความผิดปรกติหรือบกพร่องทางร่างกาย ทางสติปัญญาหรือทางจิตใจ
พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550
คนพิการ (Person With Disability) หมายความว่า บุคคลซึ่งมีข้อจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวัน
การฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ หมายความว่า การเสริมสร้างสมรรถภาพหรือความสามารถของคนพิการให้มีสภาพที่ดีขึ้น หรือดำรงสมรรถภาพหรือความสามารถที่มีอยู่เดิมไว้
การส่งเสริมคุณภาพชีวิตคนพิการ หมายความว่า การฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการการจัดสวัสดิการการส่งเสริมและการพิทักษ์สิทธิการสนับสนุนให้คนพิการสามารถดำรงชีวิตอิสระ
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
คนพิการ(Person With Disability) หมายถึง บุคคลซึ่งมี ข้อจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิต ประจำ วัน หรือการเข้า ไปมีส่วน ร่วมทางสังคม เนื่องจากมีความบกพร่องทางการ เห็น การได้ยิน การเคลื่อนไหว การสื่อสาร จิตใจ อารมณ์ พฤติกรรม สติปัญญา การเรียนรู้ หรือ ความบกพร่อง
อุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ
รถนั่งคนพิการหรือวีลแชร์(Wheelchairs)
อุปกรณ์ช่ วยในการเดิน (Walking aids),ไม้เท้าคนตาบอด(White cane),ไม้เท้า (cane)
โครงเหล็กหัดเดิน (walker frame or walkers)
4.ไม้ค้ำยัน (crutches)
5.เบาะรองนั่งป้องกันแผลกดทับ (Cushions)
6.เครื่องช่วยฟัง
ประเภทคนพิการ
บุคคลที่มีความบกพร่องทางการเห็น
บุคคลที่มีความบกพร่องทางการเห็น ได้แก่บุคคลที่สูญเสียการเห็นตั้งแต่ระดับ เล็กน้อยจนถึงตาบอดสนิท ซึ่งแบ่งเป็น ๒ ประเภท
1.1คนตาบอด หมายถึง บุคคลที่สูญเสียการเห็นมาก จนต้องใช้สื่อสัมผัสและสื่อเสียง
1.2 คนเห็นเลือนราง หมายถึง บุคคลที่สูญเสียการเห็น แต่ยังสามารถอ่านอักษรตัวพิมพ์ ขยายใหญ่ ด้วยอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ หรือเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวก
บุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
2.1 คนหูหนวกหมายถึง บุคคลที่สูญเสียการได้ยินมากจนไม่สามารถเข้าใจการพูดผ่านทางการ ได้ยินไม่ ว่า จะใส่หรือไม่ใส่เครื่องช่วยฟัง
2.2 คนหูตึงหมายถึง บุคคลที่มีการได้ยิน เหลืออยู่เพียงพอที่จะได้ยินการพูดผ่านทางการได้ยินโดยทั่วไปจะใส่เครื่องช่วยฟัง
3.บุคคลทีมีความบกพร่องทางสติปัญญา
บุคคลที่มีความบกพร่องทางร่างกาย หรือการเคลื่อนไหวหรือสุขภาพ
4.1 บุคคลที่มีความบกพร่องทางร่างกายหรือการเคลื่อนไหว
4.2 บุคคลที่มีความบกพร่องทางสุขภาพ
บุคคลที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้
6.บุคคลที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษา
7.บุคคลที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมหรืออารมณ์
8.บุคคลออทิสติก
9.บุคคลพิการซ้อน
นางสาวอรนุช จันทรัตน์ เลขที่ 42 PN