แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

ประเภทของข้อสอบ

แบ่งตามธรรมชาติของสิ่งเร้า

แบ่งตามเวลาที่ใช้สอบ

แบบตามวิธีการตอบ

แบ่งตามลักษณะของการให้คะแนน

แบ่งตามมาตราฐานของแบบสอบ

แบ่งตามการแปลความหมายของคะแนน

แบ่งตามสมรรถภาพที่จะวัด

แบ่งตามวัตถุประสงค์ที่มุ่งวัด

แบ่งตามลักษณะการใช้ประโยชน์

แบ่งตามที่มาของคำตอบ

การสร้างแบบทดสอบ

ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

  1. วางแผนการออกข้อสอบ
  1. เขียนข้อสอบ
  1. ทดลองใช้ข้อสอบหาคุณภาพข้องสอบ
  1. ด าเนินการสอบ

แบบอิงกลุ่ม

แบบอิงเกณฑ์

หลักการเขียนข้องสอบแบบต่างๆ

การเขียนข้อสอบแบบเลือกตอบ

หลักการเขียนข้อสอบแบบจับคู่

หลัการเขียนข้อสอบแบบถูก/ผิด

หลักการเขียนข้อสอบแบบเติคำ

หลักการเขียนแบบอัตนีย

ลักษณะเฉพาะของข้อสอบ

ส่วนประกอบ

  1. พฤติกรรมย่อย: จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
  1. คําอธิบายและขอบเขต
  1. ลักษณะคําถามและคําตอบ
  1. ตัวอย่างข้อสอบ
  1. พฤติกรรมหลัก: มาตรฐานตัวชี้วัด

การวิเคราะห์คุณภาพข้อสอบรายข้อ

  1. การวิเคราะห์ข้อสอบแบบอิงกลุ่ม

⚫ ความยากของข้อสอบ

⚫ อํานาจจําแนกของข้อสอบ

⚫ การแปลความหมายของการวิเคราะห์ข้อสอบ

  1. การวิเคราะห์ข้อสอบแบบอิงเกณฑ์

⚫ ความยากของข้อสอบ

⚫ อํานาจจําแนกของข้อสอบ

3.การวิเคราะห์ข้อสอบแบบอัตนัย

จุดมุ่งหมายของการวิเคราะห์ข้อสอบ

  1. ข้อสอบแต่ละข้อได้ทําหน้าที่ตามที่ผู้ออกข้อสอบตั้งใ0ไว้หรือไม่
  1. ข้อสอบแต่ละข้อมีความยากง่ายที่เหมาะสมกับผู้สอบหรือไม่
  1. ข้อสอบแต่ละข้อมีข้อบกพร่องอะไรบ้าง
  1. ตัวลวงที่สร้างมีประสิทธิภาพเพียงใด

คุณภาพของเครื่องมือที่ดี

⚫ ความเที่ยงตรง

⚫ ความเชื่อมั่น

⚫ ความยาก

⚫ อํานาจจําแนก

⚫ ความเป็นปรนัย

การหาคุณภาพของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

  1. ความตรง หรือความเที่ยงตรง (Validity)

1.1 ความตรงเชิงเนื้อหา

1.2 ความตรงเชิงโครงสร้าง

1.3 ความตรงเชิงเกณฑ์สัมพันธ์

  1. ความเที่ยง หรือความเชื่อมั่น (Reliability)

2.1 ความเที่ยงของแบบสอบอิงกลุ่ม

2.2 ความเที่ยงของแบบสอบอิงเกณฑ์

1.วิธีวัดซ้า

  1. ใช้แบบสอบคู่ขนาน
  1. วิธีหาความสอดคล้องภายใน วิธีแบ่งครึ่งฉบับ, KR20, สัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเที่ยง

  1. แบบสอบที่มีจํานวนข้อมากค่าความเที่ยงสูง
  1. ข้อสอบที่ยากเกินไปหรือง่ายเกิน ค่าความเที่ยงต่า
  1. กลุ่มผู้สอบที่มีความสามารถใกล้เคียงกัน ค่าความเที่ยงจะต๋า
  1. ข้อสอบที่วัดเนื้อหาเดียวกันมีความเป็นเอกพันธ์ ค่าความเที่ยงสูง
  1. ข้อสอบที่มีความปรนัยสูง ค่าความเที่ยงจะสูง

นาย ซูไลมาน อิสมาแอ 013