Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การปฐมพยาบาลจากการเล่นกีฬา - Coggle Diagram
การปฐมพยาบาลจากการเล่นกีฬา
อาการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬามี 2ประเภท
บาดเจ็บเฉียบพลัน
เช่น กระดูกหัก
เส้นเอ็นฉีกขาด
คือ การบาดเจ็บเกิดขึ้นทันที
เจ็บเรื้อรัง
คือการบาดเจ็บที่เกิดซ้ำๆที่เดิม
และสะสมมานาน เช่น การวิ่งทำให้
หัวเขาต้องรับน้ำหนักเเรงกระแทก
ทำให้เกิดการสึกกร่อนและเข่าเสื่อมได้
อาการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬาชนิดต่างๆ
ว่ายน้ำ อาจจะทำให้ไหล่หลุด หรือเป็นหูน้ำหนวก
กอล์ฟ อาจทำให้ผิวหนังบริเวณนิ้วมือบวมพองจากการเสียดสีจากไม้
เทนนิส อาจทำให้กล้ามเนื้ออักเสพ เอ็นฉีก กระดูกข้อมือหัก
บาสเก็ตบอล ทำให้ข้อเท้าเคล็ด เอ็ยข้อเท้าฉีก นิ้วหลุดหรือหัก
เเบตมินตัน ทำให้กล้ามเนื้อเคล็ดขัดยอก เอ็นฉีกขาด
แขนหัก หรือเกิดบาดเเผลจากการปะทะกัน
วิ่ง อาจทำให้เท้าเเพลง ทำให้กล้ามเนื้ออักเสบได้
หลักการปฐมพยาบาลมีดังนี้
มากขึ้น อย่ารัดแน่นมากเกินไป เลือดอาจจะไหลเวียนไม่สะดวก
หากบาดเจ็บบริเวณต้นขาหรือเเขน ให้ยกเเขนขาสูงกว่า
การรัดด้วยผ้ายืดบริเวณที่บาดเจ็บจะช่วยป้องกันไม่ให้บวม
เว้นประมาณ10นาทีแล้วจึงประคบต่อ อีกครั้งทำไปเรื่อยๆ
ระดับหัวใจ เพื่อเป็นการห้ามเลือด หรือป้องกันไม่ให้ของเหลว
การประคบเย็น1-2วันแรกหลังเกิดการบาดเจ็บประมาณ15นาที
ในร่างกายไหลไปยังบริเวณที่บาดเจ็บได้
หากเกิดการบาดเจ็บขึ้นควรหยุดกิจกรรมไม่ควรฝืนเล่นต่อ
ความหมายของการปฐมพยาบาล
หมายถึง
1)ยังคงมีชีวิตอยู่ได้
2)ยังคงมีอาการคงเดิมไม่ทรุดลง
อุบัติเหตุหรือล้มป่วยลงโดยใช้สิ่งต่างๆเท่าที่จะหาได้ในขณะนั้น
3)ช่วยให้ทุเลาหรือหายป่วยได้ดีขึ้นกว่าจะนำมาส่งเเพทย์
การช่วยเหลือขั้นต้น ให้เเก่ผู้บาดเจ็บที่ได้รับ
R I C E คือ
E (elevation) คือยกส่วนที่ได้รับบาดเจ้บสูงกว่าหัวใจ
C (compression) คือพ้นกระชับส่วนที่ได้รับบาดเจ็บ
I (Ice) คือ ประคบเย็นบริเวณที่ได้รับบาดเจ็บด้วยน้ำเเข็ง
R(rest) คือ พักส่วนที่ได้รับบาดเจ็บทันที