Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Production Location, 2.วิเคราะห์จุดคุ้มทุนสถานที่, 3.วิธีหาจุดศูลย์ดุล, 1…
Production Location
Production Lay out
ความหมาย
การวางผังสถานประกอบการ
หมายถึง การกำหนดตำแหน่งของพื้นที่ปฏิบัติงาน กำรติดตั้งเครื่องจักรอุปกรณ์ การกำหนดทิศทางการไหลของทรัพยสกร และผลิตภัณฑ์ เพื่อให้
การผลิตสินค้าหรือการให้บริการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภำพสูงสุด โดยอยู่ภายใต้ข้อจำกัดขององค์การ
-
-
ประเภทของผังประกอบการ
7.ผังตามลักษณะผลิตภัณฑ์
การผลิตสินค้าที่เหมือนกันหรือคล้ายคลึงกันมีปริมาณมาก
ต้องการความคุ้มค่าต่อการลงทุนในเครื่องจักร อุปกรณ์สูง
ผลิตภัณฑ์มีมาตรฐานสูง และช่วงวงจรชีวิตเหมาะแก่การลงทุนสูงเครื่องจักร และอุปกรณ์
มีแหล่งวัตถุดิบและชิ้นส่วนต่างๆ เพียงพอ
มีการผลิตอย่างต่อเนื่อง
-
-
-
-
ปัจัยสำคัญต่อทำเลที่ตั้ง
- ผลิตภาพจากแรงงาน (Labor Productivity)
- ความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยน (Exchange Rate)
- ต้นทุน (Costs)
- ทัศนคติ (Attitudes)
- ความใกล้แหล่งตลาด
- ความใกล้แหล่งวัตถุดิบ
- ความใกล้แหล่งคู่แข่ง
ความหมายของทำเลที่ตั้ง
หมายถึง สาถานที่สำหรับประกอบกิจกรรมทางธุรกิจขององค์การ เช่น โรงงาน สำนักงาน หรือ โกดัง
-
-
1.แบบอยู่กับที่
วางแผนผังโดยทำให้ผลิตภัณฑ์ที่ต้องการผลิตวางอยู่กับที่
กาผลิตทำโดยการนำ หรือเคลื่อนย้ายแรงงาน วัตถุดิบ และเครื่องจักรอุปกรณ์
ที่ต้องใช้ในการผลิตเข้ามาทำการผลิตภัณฑ์ที่สถานที่ดำเนินงาน
โดยส่วนมากเป็นการผลิตขนาดใหญ่
-
2.แบบกระบวนการตามผลิต
เป็นการจัดวางผังของสถานประกอบการโดยการจัดเครื่องจักรเครื่องมือต่าง ๆ
แบ่งเป็นกลุ่มตามชนิดการทำงานของเครื่องจักรเครื่องมือ
ผลิตภัณฑ์ชนิดต่าง ๆ ในสถานจะมาใช้เครื่องจักรเครื่องมือร่วมกัน ซึ่งเครื่องจักร
เครื่องมือจะถูกจัดเป็นหมวดหมู่
เหมาะสำหรับการผลิตที่มีลักษณะการผลิตแบบไม่ต่อเนื่อง มีความยืดหยุ่นในการผลิต
-
-
5.ผังสำหรับกิจการค้าปลีก
การวางผังการจัดวางต้องดึงดูดใจลูกค้ำ เพื่อกระตุ้นให้เกิดการซื้อ
จัดวางสินค้าที่น่าสนใจและกลุ่มสินค้าประเภทเดียวกันเข้าไว้ด้วยกัน
สินค้าประเภทที่มีแนวโน้มว่าจะกระตุ้นผู้ซื้อได้ดี ควรจัดวำงไว้ในที่ประจำ แน่นอนเพื่อให้
ลูกค้าจำจุดจำหน่ายได้
กระจายสินค้ำประเภทที่ผู้บริโภคจะซื้อเมื่อได้พบเห็นหรือผ่านตาไปยังจุดเล็กๆ ให้ทั่วร้าน
เพื่อสะดวกในการซื้อ
-
-
- การประสานงานที่ดีที่สุด (maximum co- ordination)
-
- การใช้พื้นที่ให้มากที่สุด (maximum use of space)
-
- การมองเห็นได้มากที่สุด (maximum visibility)
-
- การเข้าถึงได้ง่ายที่สุด (maximum accessibility)
-
- ระยะทางการเคลื่อนย้ายที่สั้นที่สุด (minimum distance)
-
- การเคลื่อนย้ายน้อยที่สุด (minimum handling)
-
- สภาพแวดล้อมการทำงานที่ดีที่สุด (maximum comfort)
-
- ความปลอดภัย (inherent safety)
-
- สิ่งบริกำรอื่น ๆ (others service)
-
4.ผังสำนักงาน
เป็นการวางแผนผังที่ต้องคำนึงถึงการจัดตำแหน่งที่นั่งของพนักงาน งานที่ต้องรับผิดชอบการติดตั้งอุปกรณ์สำนักงาน การติดต่อสื่อสารภายในและภายนอกองค์การ ความสะดวกปลอดภัยที่ต้องการ การวางแผนผังไว้สำหรับการพัฒนาเทคโนโลยีในอนาคตด้วย พื้นที่สำ
หรับดำเนินงานด้านต่าง ๆ เช่น ห้องประชุม ห้องรับรองลูกค้า ห้องเก็บเอกสาร
6.ผังคลังสินค้า
ต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าที่สมดุลกับขนาดของคลังสินค้ำ
สามารถใช้พื้นที่ทุกส่วนในคลังสินค้าได้อย่างเต็มที่และคุ้มค่า
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ทำการรับและส่งสินค้า
ต้องคำนึงถึงชนิดของสินค้า ยานพาหนะที่ใช้ขนส่ง
การส่งผ่านสินค้า (cross docking)
จัดเก็บเชิงสุ่ม (random stocking)
เฉพาะกลุ่ม (customizing)
-