Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวทางการดำเนินงานอาชีวอนามัย - Coggle Diagram
แนวทางการดำเนินงานอาชีวอนามัย
ขอบเขตของการดำเนินการอาชีวอนามัย
1.การป้องกันและควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพ
-การป้องกันแบบปฐมภูมิ
-การป้องกันแบบทุติยภูมิ
-การป้องกันแบบตติยภูมิ
การป้องกันและควบคุมอุบัติเหตุจากการประกอบอาชีพ
การป้องกันและควบคุมมลพิษในสิ่งแวดล้อม
แนวทางการดำเนินงานอาชีวอนามัย
การป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ
มุ่งเน้นการป้องกันและอันตรายที่เกิดกับการประกอบอาชีพ
2.การรักษาพยาบาลและการส่งต่อ
การปฐมพยาบาลก่อนส่งต่อโรงพยาบาล
3.ฟื้นฟูสุขภาพ
ตรวจสุขภาพเพื่อประเมินความแข็งแรง
4.ตรวจพิเศษด้านอาชีวเวชศาสตร์
การบันทึกระเบียนรายงาน
การจัดบริการอาชีวอนามัยเชิงรุกสำหรับผู้ประกอบอาชีพในชุมชนบริการเชิงรุก
1.การสำรวจสถานที่เพื่อประเมินความเสี่ยง
2.สนับสนุนเครือข่ายในการจัดการความเสี่ยง
3.การจัดบริการตรวจสุขภาพให้กับผู้ประกอบอาชีพ
4.การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพโดยการวางแผน
การให้ความรู้คำปรึกษาการวิชาการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยแก่ผู้ประกอบ อาชีพนายจ้าง
จัดอบรมอสมเพื่อพัฒนาเป็นอาสาสมัครสาธารณสุข
7.การเก็บรวบรวมข้อมูลพื้นฐาน
การสอบสวนโรคหรืออุบัติเหตุจากการทำงาน
9.จัดทำแผนเพื่อรองรับภาวะฉุกเฉิน
อันตรายจากสภาพแวดล้อมในการทำงานและการควบคุม
1. อันตรายจากสภาพแวดล้อมทางเคมี
มี2ลักษณะดังนี้
สารเคมีฟุูงกระจายในรูปอนุภาค 2. สารเคมีฟุูงกระจายในรูปก๊าซและไอระเหย
อันตรายของสารเคมีต่อร่างกาย
อันตรายของก๊าซและไอสาร
-ทำให้หมดสติ เกิดการระคายเคือง เป็นอันตรายต่อร่างกายและเป็นสารก่อมะเร็ง
อันตรายของอนุภาคสาร
-ฝุ่นที่ทำให้เกิดโรคปอดฝุ่น สารก่อนมะเร็งและ ละอองพิษ
3.อันตรายของสารเคมีชนิดที่เป็นของเหลว
-สารละลายต่างๆรวมทั้งน้ำมันเชื้อเพลิงทำให้เกิดอันตรายต่อระบบร่างกายและอวัยวะ
2. อันตรายจากสภาพแวดล้อมทางกายภาพ
มลพิษทางเสียง การสั่นสะเทือน ความกดอากาศที่ผิดปกติความร้อน แสงสว่าง รังสี
ความกดบรรยากาศที่ผิดปกติ
-ความกดอากาศต่ำกว่าปกติ ทำให้ขาดออกซิเจนเกิดอาการเมื่อยล้า ง่วง ปวดศีรษะ อาเจียน และถ้าหากฟองก๊าซนี้ไป
อยู่ตรงกล้ามเนื้อและข้อต่อจะทำให้เกิดตะคริว
ผลกระทบของเสียงรบกวน
ต่อสุขภาพทั่วไปและจิตใจ ทำให้การทำของระบบไหลเวียนโลหิต ระบบประสาท ระบบต่อมต่อไร้ท่อ ทำให้สมดุลร่างกายเปลี่ยนแปลง
ผลของการสั่นสะเทือน
ลักษณะของการสั่นสะเทือน อาจจะทำให้ไม่สามารถทรงตัวอยู่ได้ ระดับน้ำตาลในเลือด ต่ำมาก ระดับโคเลสเตอรอลในเลือดลดต่ำลง และระดับของกรดแอสคอร์บิกต่ำด้วย
ผลจากความร้อน
ความร้อนสูงจากสภาพแวดล้อมในการท างาน ทาให้อัตราการเต้นของ หัวใจเพิ่มขึ้น และมีการขับเหงื่อ (Sweating) ของร่างกายเพื่อเป็นการรักษาระดับพลังงานและเป็นการถ่ายเท ากร่างกายไม่สามารถขจัดความร้อนออกจากร่างกายได้ทัน จะส่งผลท าให้เกิดอันตรายต่อ ร่างกายได้เช่น เป็นตะคริว
แสงสว่าง
การทำงานที่ที่มีแสงสว่างน้อยเกินไป อาจทำให้ต้องใช้สายตาเพ่งมากกว่าปกติเกิดอาการปวด ศีรษะ และตาล้า และอาจเป็นสาเหตุให้เกิดอุบัติเหตุได้
3. อันตรายจากสภาพแวดล้อมทางชีวภาพ
การติดเชื้อโรคต่างๆ พบในเกษตรกรหรือคนงานที่คลุกคลีกับสัตว์
หนังสัตว์ หรือ ฟางข้าว
การเป็นโรคพยาธิ อาจเกิดในเกษตรกรที่ท างานเกี่ยวข้องกับแหล่ง
โปรโตซัว หรือพยาธิ
การเกิดการระคายเคือง หรือภูมิแพ้ สาเหตุมาจากฝุุน เช่น ขนและ
เกล็ด ของแมลง ขี้เลื่อย เรณุดอกไม้
การถูกสัตว์กัด ในขณะทำงาน
4. อันตรายจากสิ่งแวดล้อมทางจิตวิทยาสังคม
การเกิดความเครียดหรือรู้สึกเบื่อหน่ายต่องาน ซึ่งเกิดจากความ
ต้องการขั้นพื้นฐานไม่ได้รับการตอบสนอง เช่น ค่าจ้างต่างๆ
การเกิดความกดดันจากสภาพงานที่ไม่เหมาะสม เช่น
ทำงานเป็นผลัดหรือเป็นกะนอกเหนือจากเวลาปกติ
การเกิดอุบัติเหตุจากปัญหาจิตวิทยาสังคม เช่น งาน
บางอย่างอาจเกิดความซ้ำซาก จำเจและรีบเร่ง
5. อันตรายจากสภาพแวดล้อมทางด้านการยศาสตร์
การปฏิบัติงานที่มีการใช้อวัยวะต่างๆ ของร่างกายที่ไม่เป็นไปตามธรรมชาติของโครงสร้าง และขีดความสามารถของอวัยวะภายในร่างกาย อาจก่อให้เกิดอันตราย หรือเกิดโรคเกี่ยวกับระบบโครงสร้าง กล้ามเนื้อ กระดูก และเนื้อเยื่อเกี่ยวพันต่างๆ
บริเวณคอ บริเวณหลัง
6. การเกิดอุบัติเหตุเนื่องจากการทำงาน
อุบัติเหตุในการทำงาน หมายถึง ภัยและความเสียหายอันเนื่องมาจากเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิด มาก่อน ทาให้ผู้ปฏิบัติงาน บาดเจ็บ สูญเสียทรัพย์สิน พิการหรือเสียชีวิต
บทบาทของพยาบาลอาชีวอนามัย
การบริหารจัดการผู้เจ็บป่วยรายกรณี
การให้คำปรึกษาหารือ และการจัดการดูแลในภาวะวิกฤติ
การส่งเสริมสุขภาพและลดความเสี่ยง
การปฏิบัติตามข้อกำหนดกฎหมาย
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีวอนามัย
พระราชบัญญัติ คุ้มครองแรงงาน พ .ศ .2541 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ คุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562
พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติประกันสังคม (ฉบับที่ 4( พ.ศ. 2558
พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 แก้ไขโดย พระราชบัญญัติ โรงงาน 3 ฉบับที่(( พ .ศ.2562
พระราชบัญญัติ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน
การทำงาน พ.ศ. 2554
ระเบียบกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ว่าด้วยพนักงาน
กองทุนเพื่อผู้ใช้แรงงาน พ.ศ. 2553 เป็นต้น