Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูล, นางสาวดารุณี อ่างมัจฉา 62118301036 - Coggle…
หน่วยที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูล
ขั้นตอนในการวิเคราะห์ข้อมูล
ตรวจสอบข้อมูล
สร้างคู่มือลงรหัส (Code book)
สร้างคู่มือลงรหัส (Code book)
ประเภทต่างๆ ของการวิเคราะห์ข้อมูล
ประเภทต่างๆ ของการวิเคราะห์ข้อมูล
ประเภทต่างๆ ของการวิเคราะห์ข้อมูล
ประเมินความสัมพันธ์ที่สังเกตและทดสอบทางสถิต
ค้นหาความสัมพันธ์ใหม่ๆ ของข้อมูล
อ่านความหมายของข้อมูล
อ่านความหมายของข้อมูล
การวางกฎทั่วไปและการพยากรณ์
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงสถิต
เป็ นการอธิบายและสรุปข้อมูลที่รวบรวมได้จากกลุ่ม
ตัวอย่าง / ประชากร
“mean”
“S.D”
แสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร/ทิศทาง/ระดับ
ความสัมพันธ์
อธิบายความแตกต่างระหว่างกลุ่ม F-Test/T-Test
สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล
เป็นศาสตร์ประยุกต์/สามารถเอาวิธีการ
ทางสถิติไปใช้ในกรณีต่างๆ ได้
หน้าที่ของสถิติ
Descriptive/summarize (สรุป/บรรยาย
ข้อมูล)
การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง (Central
Tendency Measure)
มัชฌิมเลขคณิต (Arithematic mean)
มัฐยฐาน (Median)
ฐานนิยม (Mode)
การวัดการกระจาย (Disperson)บอกความแตกต่างของข้อมูล
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard
Deviation) S.D
ความแปรปรวน (Variance)
พิสัย (Range)
การนำเสนอข้อมูล (Data Presentation)
แสดงด้วยตารางแจกแจง (Table)
แสดงด้วยตารางแจกแจง (Table)
การเปรียบเทียบข้อมูล
แปลงคะแนนดิบเป็นคะแนนมาตรฐาน
Inductive/Inference (อุปมา/คาดคะเน/
อ้างอิง)
การทดสอบสมมติฐานทางสถิติ (Hypothesis
testing)
การประมาณค่าพารามิเตอร์ (ประชากร)
มีเทคนิคทางสถิติ 2 ประเภท
Parametric statistic
ประมาณค่า Parameter จากค่าสถิติที่ศึกษาจาก
กลุ่มตัวอย่าง โดยการสุ่ม (Sampling)
การแจกแจงของประชากรเป็นแบบโค้งปกติ
ค่าความแปรปรวน (Variance) คงที่
สถิติแบบพาราเมตริก
T - test
ใช้สำหรับทดสอบสมมุติฐาน เปรียบเทียบกันสองกลุ่ม เท่านั้น
ใช้ส าหรับทดสอบสมมุติฐาน เปรียบเทียบกันสองกลุ่ม เท่านั้น
เน้นที่การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยมัชฌิมเลขคณิต
ประเภทของ t-test
One sample t-test ใช้ส าหรับทดสอบสมมุติฐานเมื่อเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐาน
Independent-Samples t-test ใช้สำหรับทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยมัชฌิมเลขคณิต ของสองกลุ่มเปรียบเทียบ
Paired-samples t-test ใช้เปรียบสัมฤทธิ์ผลการทดลองที่เป็นกิจกรรมดeเนินงาน ก่อนและหลัง
Z - test
X2 –test
F - test
ใช้ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยมัชฌิมเลขคณิต ตั้งแต่ 3 กลุ่มขึ้นไป
ค้นหาความแตกต่าง ในแต่ละกลุ่ม
พฤติกรรมที่จะวัด ต้องเป็นคะแนน หรือมีระดับการวัดแบบอัตรส่วน หรือ แบบช่วง ทั้งสายวิทย์ และสายศิลป
ใช้ทดสอบความแตกต่างรายคู่เปรียบเทียบได้
Non-Parametric statistic
กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา ไม่ได้มาจากการสุ่ม
การแจกแจงของประชากร ไม่เป็นแบบโค้งปกติ
สมมติฐาน
สมมติฐานวิจัย
เขียนเชิงบรรยาย
ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่นักวิจัยคาดคะเนไว
สมมติฐานทางสถิติ แปลงสมมุติฐานวิจัยมาเขียนในรูปสัญลักษณ์และตัวเลข เพื่อการทดสอบทางสถิติ
สมมุติฐานสูญ (Null Hyp. : H0 )
ตั้งขึ้นเพื่อถูกปฏิเสธ
มีข้อตกลงเบื้องต้นว่าน่าจะเป็นจริง
ไม่แตกต่าง/ไม่สัมพันธ์
สมมุติฐานอื่น (Alternative Hyp. : H1 )
ใช้เมื่อ H0 ถูกปฏิเสธ
การทดสอบสมมุติฐาน
ต้องทดสอบ H0 (Accept/Reject)
H0 ควรได้รับการปฏิเสธภายใต้ความคลาด
เคลื่อนที่น้อยที่สุด แบบที่ 1 / TypeⅠerror
Type Ⅰ error เป็นความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นเมื่อผู้วิจัย Reject H0
ในบางกรณีต้องยอมรับ H0 ก็ควรจะยอมรับ
ภายใต้(ความคลาดเคลื่อนแบบที่ 2 / TypeⅡerror)
Type Ⅱ error ป็นความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นเมื่อผู้วิจัย Accept H0 ที่ไม่เป็นจริง(รุนแรงว่า Type Ⅰ)
ความน่าจะเป็นหรือโอกาสเสี่ยง
ถ้ายอมรับ H0
ที่ไม่จริง จะเป็น B (รุนแรงมาก)
ถ้าปฏิเสธ H0
ที่เป็ นจริง จะเป็นระดับความมีนัยสำคัญ (รุนแรงน้อย)
ระดับความมีนัยสำคัญ
ความน่าจะเป็นในการปฏิเสธ (reject) H0 ที่เป็นจริง
ระดับความมีนัยสำคัญ = 0.05
การประมาณค่าพารามิเตอร์
การประมาณค่าที่เป็นจุด (point estimation)
การประมาณค่าที่เป็นช่วง (Interval estimation) ภายใต้ความเชื่อมั่น 95 %
ปัจจัยในการพิจารณาเลือกใช้สถิติวิเคราะห์ข้อมููล
วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์ข้อมูล
จำนวนกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา
ระดับของข้อมูลที่จะวิเคราะห์
จำนวนกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา
นางสาวดารุณี อ่างมัจฉา 62118301036