Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการวัดและประเมินผลการศึกษา , นาย ซูไลมาน อิสมาแอ 013 - Coggle Diagram
หลักการวัดและประเมินผลการศึกษา
การประเมินผล (Evaluation)
กระบวนการตัดสินคุณค่าของสิ่งต่าง ๆ โดย การเปรียบเทียบกับเกณฑ์หรือมาตรฐาน การประเมินจึงเป็นเรื่องเกี่ยวกับ คุณค่าของสิ่งต่าง ๆ
องค์ประกอบของกระบวนการศึกษาการสอน
ประกอบด้วย OEL
จุดประสงค์ทางการศึกษา (objective)
1.จุดมุ่งหมายของหลักสูตร
2.จุดมุ่งหมายรายวิชา
3.จุดมุ่งหมายการเรียนร
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ (learning experience)
วิธีการสอนของครู
วิธีการเรียนของนักเรียน
สือการสอน
สถานที่เรียนอุปกรณ์พร้อม
วิธีการวัดและประเมินผล (measurement, evaluation)
การวัดผล (Measurement)
การกําหนดตัวเลขหรือสัญลักษณ์อื่นๆ แทนปริมาณหรือคุณภาพหรือคุณลักษณะ
การทดสอบ (Testing)
การบวนการใชเเครื่องมือในการทดสอบ เช่น แบบทดสอบ เพื่อให้ผู้สอบมีพฤติกรรมตอบสนองในรูปแบบใดแบบหนึ่ง
ประเภทของการประเมินผล
1.การประเมินเพื่่อจัดสรรผู้เรียน (Placement evaluation)
2.การประเมิรผลระหว่างการส (Formative evaluation)
3.การประเมินเพื่อวินิจฉัย (Diagnostic evaluation)
4.การประเมินผลหลังการสอน (Summative evaluation)
ทฤษฎีการเรียนรู้ของ Bloom
ด้านสมอง (Cognitive domain)
ความรู้ความจํา
1.1 ความรู้ในเนื้อเรื่อง
1.2 ความรู้ในวิธีดําเนินการ
1.3 ความรู้รวบยอดในเนื้อเรื่อง
ความเข้าใจ
2.1 การแปลความ
2.2 การตีความ
2.3 การขยายความ
การนําไปใช้
การวิเคราะห์
4.1 วิเคราะห์ความสําคัญ
4.2 วิเคราะห์ความสัมพันธ์
4.3 วิเคราะห์หลักการ
การสังเคราะห์
5.1 สังเคราะห์ข้อความ
5.3 สังเคราะห์ความสัมพันธ์
5.2 สังเคราะห์แผนงาน
การประเมินค่า
6.1 การประเมินค่าโดยอาศัยข้อเท็จจริงภายใน
6.2การประเมินค่าโดยอาศัยเกณฑ์ภายนอก
ด้านความรู้สึก (Affective)
การรับรู้สิ่งเร้า
การรู้จัก (Awareness)
ความเต็มใจในการรับ (Willingness to receive)
การควบคุมหรือคัดเลือกเอาใจใส่ (Controlled or SelectedAttention)
การตอบสนอง
การยินยอมในการตอบสนอง 2. การเต็มใจตอบสนอง 3. ความพึงพอใจในการตอบสนอง
การเห็นคุณค่า
การยอมรับคุณค่า 2. การนิยมชมชอบในคุณค่า 3. การยอมรับ
การจัดระบบค่านิยม
การสร้างความคิดรวบยอดของคุณค่า
การจัดระบบคุณค่า
การสร้างลักษณะนิสัย
ด้านการปฏิบัติ (Psychomotor)
การรับรู้ของระบบประสาทและกล้ามเนื้อ (perception)
การเตรียมพร้อมปฏิบัติ (set)
การปฏิบัติตามข้อแนะนํา (guided response)
การปฏิบัติจนเป็นนิสัย (mechanism)
การปฏิบัติที่สลับซับซ้อน (complex overt response)
การปรับเปลี่ยนปฏิบัติการ (adaptation)
การสร้างปฏิบัติการใหม่ (origination)
ความสำคัญของการวัดและประมวลผล
ด้านการเรียนการสอน (ตัวผู้เรียน)
ด้านการเรียนการสอน ((ผู้สอน)
ด้านการเรียนการสอน (ผู้ปกครอง)
ขั้นตอนการวัดและการประเมินผล
กำหนดจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมการเรียนรู้
กำหนดวิธีการวัดผล
การเลือก/สร้างเครื่องมือวัดผล
การตรวจสอลคุณภาพเครื่องมือ
การบริหารวัดผล
การตัดสินค่าจากผลการวัด
การให้ป้อนกลับ
การวิเคราะห์หลักสูตรเพื่อเขียนข้องสอบ
หลักสูตร หมายถึง แผนการจัดประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน
วิเคราะห์เนื้อหาวิชาที่สอน
วิเคราะห์จุดประสงค์การเรียนรู้/วัตถุประสงค์การศึกษา
ส่วนประกอบของหลักสูตร
จุดประสงค์ของหลักสูตร (Objective)
เนื้อหาวิชา (Content)
กระบวนการ (Procedure)
การประเมินผล (Evaluation)
เอกสารประกอบหลักสูตร (Curriculum material)
จุดประสงค์หลักสูตร มี 3ระดับ
1.จุดประสงค์ของกลุ่มวิชา
2.จุดประสงค์การเรียนรู้ทั่วไป
3.จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
สวนประกอบ
พฤติกรรมที่คาดหวัง
เกณฑ์
เงื่อนไข
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive domain)
ด้านจิตพิสัย (Affective domain)
ด้านทักษะพิสัย (Psycho motor domain)
นาย ซูไลมาน อิสมาแอ 013