Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 แนวทางการดำเนินงานอาชีวอานามัย - Coggle Diagram
บทที่ 5 แนวทางการดำเนินงานอาชีวอานามัย
ความหมาย
คำว่า อาชีวอนามัย "Occupational"
อาชีวะ หมายถึง การเลี้ยงชีพ การประกอบอาชีพ หรือคนที่ประกอบอาชีพทุกสาขาวิชาชีพ
อนามัย หมายถึง สุขภาพอนามัย ความไม่มีโรค สภาวะสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจของผู้ประกอบอาชีพ
ความสำคัญของงานชีวอนามัย
การบริการอาชีวอนามัย คือ งานอาชีวอนามัยที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมและการธำรงรักษาไว้ซึ่งสุขภาพอนามัยที่แข็งแรง สมบูรณ์ ปลอดภัย ของผู้ประกอบอาชีพ ไม่มี โรคภัยไข้เจ็บ รวมทั้งอุบัติเหตุ หรือ ความเสี่ยงในการเกิดอันตรายจากการปฏิบัติงาน
แนวคิดการบริการอาชีวอนามัย
1.การสร้างเสริมและส่งเสริมสุขภาพในสถานที่ทำงาน
2.การค้นหาอันตรายและความเสี่ยงต่อสุขภาพ
3.การตรวจวัดสภาพแวดล้อมและบรรยากาศในการทำงาน
4.การจัดการความเสี่ยง
5.การเฝ้าระวังโรคและการตรวจร่างกายทางการแพทย์ทั่วไปและตามความเสี่ยง
6.การจัดบริการห้องพยาบาลและจัดบริการ การตรวจรักษาโรคทั่วไป และโรคที่เกิดจากการทำงาน
7.การจัดเก็บรวบรวมสถิติ ข้อมูล สุขภาพของผู้ปฏิบัติงาน
ขอบเขตของงานอาชีวอนามัย
1.การส่งเสริมและธำรงรักษาไว้
2.การป้องกัน
3.การคุ้มครองคนงาน
4.จัดคนงานให้ได้ทำงานในลักษณะงาน สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม
5.มีการจัดปรับงานให้เข้ากับงาน
แนวทางการดำเนินงานอาชีวอนามัย
1.การป้องกันและสีงเสริมสุขภาพ
-มีการตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
-มีการตรวจสุขภาพอนามัยคนงานเป็นระยะๆ
-มีการตรวจสุขภาพอนามัยในกลุ่มคนงานพิเศษ
-มีการให้สุขศึกษา
-มีการให้ภูมิคุ้มกันโรคแก่เจ้าหน้าที่ที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค
-มีโครงการในเรื่องโภชนาการ
-มีบริการด้านสวัสดิการ
2.การรักษาพยาบาลและการส่งต่อ
3.ฟื้นฟูสภาพ
4.ตรวจพิเศษด้านอาชีวเวชศาสตร์
-ตรวจสมรรภาพการได้ยิน
-ตรวจสมรรภาพปอด
-ตรวจสมรรภาพการมองเห็น
5.การบันทึกระเบียนรายงาน
แนวทางปฏิบัติงานบริการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในโรงพยาบาล
1.การเฝ้าระวังสิ่งคุกคาม (Hazard surveillance)
2.การเฝ้าระวังทางสุขภาพ (Health surveillance)
อันตรายจากสภาพแวดล้อมในการทำงานและควบคุม
1.อันตรายจากสภาพแวดล้อมทางเคมี (Chemical Environmental Hazards)
-กลุ่มสารเคมีที่เป็นพิษ ก๊าซพิษ สารประกอบไฮโดรคาร์บอน ตัวทำละลาย
-ฝุ่นละอองที่ทำให้เกิดโรคปอด
-สารเคมีที่ก่อมะเร็ง
2.อันตรายจากสภาพแวดล้อมทางกายภาพ (Physical Environmental Hazards)
-เสียง (Noise)
-แสงสว่าง (Lighting)
-ความสั่นสะเทือน (Vibration)
-อุณหภูมิที่ผิดปกติ (Abnormal temperature)
-ความดันบรรยากาศที่ผิดปกติ (Abnormal pressure)
-รังสี (Radiation)
3.อันตรายจากสภาพแวดล้อมทางชีวภาพ (Biological Environmental Hazards)
-เชื้อจุลินทรีย์ต่างๆ
-ฝุ่นละอองจากส่วนของพืชหรือสัตว์
-การติดเชื้อจากสัตว์หรือแมลง
-การถูกทำร้ายจากสัตว์หรือแมลง
4.อันตรายจากสภาพแวดล้อมด้านการยศาสตร์ (Ergonomics)
เกิดจากการใช้ท่าทางทำงานที่ไม่เหมาะสม
ปัญหาการประสบอันตรายจากการทำงาน
1.ตัวบุุคคล
2.สิ่งแวดล้อม
3.อุปกรณ์
แนวทางการป้องกันการประสบอันตราย
1.การกำหนดมาตรการความปลอดภัย
2.การตรวจความปลอดภัย
3.กฎหมายความปลอดภัย
4.การศึกษาวิจัยความปลอดภัย
5.ด้านการศึกษา
6.การฝึกอบรมด้านความปลอดภัย
7.การสร้างเสริมทัศนคติด้านความปลอดภัย
8.การกำหนดมาตรการความปลอดภัยในสถานประกอบการ
9.การปรับปรุงสภาพการทำงานและสิ่งแวดล้อมในการทำงาน
10.การประกันการประสบอุบัติเหตุ
บทบาทและหน้าที่ของพยาบาลอาชีวอนามัย
1.ด้านบริหาร
2.การบริการในคลินิก
3.ด้านการศึกษา
4.ด้านการวิจัย
บทบาทของพยาบาลอาชีวอนามัย
1.การบริหารจัดการผู้เจ็บป่วยรายกรณี
2.การให้คำปรึกษาหรือ และการจัดการดูแลในภาวะวิกฤต
3.การส่งเสริมสุขภาพและลดความเสี่ยง
4.การปฏิบัติตามข้อกำหนดกฎหมาย
5.การปกป้องจากสิ่งก่ออันตรายในสถานประกอบการของผู้ใช้แรงงาน