Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคหัวใจที่เกิดขึ้นภายหลัง Acquire heart disease, rheumatic-heart-disease-…
โรคหัวใจที่เกิดขึ้นภายหลัง Acquire heart disease
Acute Rheumatic Fever
สาเหตุ
Beta- hemolytic Streptococcus Group A
อาการแสดงหลัก
หัวใจอักเสบ
ข้ออักเสบ
เคลื่อนไหวผิดปกติ
ปุ่มใต้ผิวหนัง
ผื่นแดงที่ผิวหนัง
อาการแสดงอื่นๆ
ไข้
ปวดข้อ
ปวดท้อง
เลือดกำเดาไหล
อาการอื่นๆ
เบื่ออาหาร
การป้องกัน
คอยดูแลเรื่องสุขอนามัยในโรงเรียนอย่างสม่ำเสมอ
ให้เด็กรับประทานอาหารที่มีประโยชน์โดยเฉพาะผัก และผลไม้
ควรหลีกเลี่ยงการจัดกิจกรรมที่ทำให้เกิดความแออัดเพื่อลดโอกาสแพร่เชื้อ
การรักษา
Salicylate
Diuretic Digitasis
Bed rest
Surgery
Kawasaki disease
มีการอักเสบของเยื่อบุผิวหนัง หลอดเลือดและต่อมน้ำเหลือง
พบบ่อยสุดเด็ก2-3ปี
จะมีความผิดปกติ Coronary ateries coronary aneurysm
เกณฑ์การวินิจฉัยโรค
มีไข้อย่างน้อย5 วัน
มี4 ข้อจากข้อ5 ต่อไปนี้
มือเท้าบวมแดง
มีผื่นตามร่างกาย
มีเยื่อบุปากและคอแดง
ต่อมน้ำเหลืองที่คอโต
มีตาแดงทั้งสองข้าง
ภาวะแทรกซ้อน
หลอดเลือดแดงของกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบโป่งพอง
การรักษา
รักษาตามอาการ ยาลดไข้
เพื่อป้องกัน IVGG intravenous gammaglobulin
ยา
ASA
IVIG
Infective endocarditis
การวินิจฉัย
เพาะเชื้อโรคในเลือด
คลื่นสะท้อนหัวใจ
การรักษา
ให้ยาATB
รักษาอาการหัวใจล้มเหลว
ผ่าตัดเพื่อซ่อมแซมลิ้นหัวใจ
สาเหตุ
การติดเชื้อ
α-hemolytic streptococcus
streptococcus aureus
การติดเชื้อส่งผลให้ลิ้นหัวใจรั่ว
อาการ
ไข้
หนาวสั่น
อาการคล้ายไข้หวัด
อ่อนเพลีย
การป้องกัน
การทำความสะอาดช่องปากให้มีสุขภาพดีอยู่เสมอ
Heart Failure
Left side Failure
หายใจเร็ว
เหนื่อยล้า
หัวใจเต้นเร้ว
หายใจลำบาก ฟังปอดcrepitation
Right side Failure
บวมรอบตา
หัวใจเต้นเร็ว
ตับโต ท้องมาน
บวม
การพยาบาล
จัดท่าศีรษะสูง fowler position หรือ semi fowler position
ดูแลให้ยาตามแผนการรักษา
เพิ่ม Contractility
Digitalis glycosides เพิ่มการบีบตัวของหัวใจ
ภาวะพิษของ lanoxin
กลุ่มยาลด preload
lasix
อาการข้างเคียง Hypokalemia
Spironalactone
ลดการขับ K
กลุ่มยาลด afterload
ขยายหลอดเลือดส่วนปลาย
Enalapril
captopril
กลุ่มยาDuctal manipulation
ดูแลให้ออกซิเจน
นางสาวนฤมล พรมวิบุตร