Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ ที่มีภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อน, นางสาวสุภาวดี…
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์
ที่มีภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อน
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะความดันโลหิตสูง
การพยาบาลสตรีที่มีภาวะ severe preeclamsia
ดูแลให้นอนพักบนเตียง (bed rest) ในท่านอนตะแคงซ้าย
ประเมินสัญญาณชีพโดยเฉพาะความดันโลหิตทุก 4 ชั่วโมง
ดูแลและติดตามประเมินผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
เฝ้าระวังติดตาม อาการและอาการแสดงของ preeclampsia ที่รุนแรงขึ้น
ดูแลให้รับประทานอาหารธรรมดา
บันทึกสารนาเข้าและออกจากร่างกายและชั่งน้ำหนัก
ดูแลติดตามการประเมินสุขภาพทารกในครรภ์
ประเมินและให้การประคับประคองสภาวะทางอารมณ์และจิตใจอย่างเหมาะสม
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะ preeclampsia with severe features
ดูแลให้นอนพักบนเตียงอย่างเต็มที่ (absolute bed rest) โดยจัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบ ลดการกระตุ้นจากภายนอก ทั้งแสงและเสียงรบกวน
-อประเมินสัญญาณชีพ โดยเฉพาะความดันโลหิต ทุก1ชั่วโมง
บันทึกปริมาณสารน้ำเข้าและออกในแต่ละวัน
ประเมินอาการก่อนการชัก ดูแลให้ยาป้องกันชัก MgSO4 ตามแผนการักษา และให้การดูแลภายหลังให้ยา
ดูแลให้ยาลดความดันโลหิตตามแผนการรักษา เช่น hydralazine
ดูแลและส่งเสริมการขับสารน้ำออกจากรร่างกาย บันทึกปริมาณสารน้ำเข้าและออกจากร่างกาย สังเกตอาการบวม ชั่งน้ำหนัก
ติดตามประเมินระดับ oxygen saturation ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ดูแลให้ทารกปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อน
ดูแลให้การตั้งครรภ์ครรภ์สิ้นสุดลงอย่างปลอดภัย
ประคับประคองด้านจิตใจ อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์และครอบครัว เข้าใจถึงการดำเนินของโรค ขั้นตอนการรักษาพยาบาล และปลอบโยนให้กำลังใจ
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะ eclampsia
ใส่ oral airway หรือ mouth gag เพื่อป้องกันไม่ให้กัดลิ้นและความสะดวกในการดูดเสมหะและน้ำลาย เพื่อป้องกันการสำลัก จัดให้นอนตะแคง
ใส่ไม้กั้นตียงโดยใช้หมอนรองรับรอบด้าน เพื่อป้องกันอันตรายจากการชัก
ให้ออกซิเจนขณะชักและภายหลังชักและประเมินความรุนแรงของการขาดออกซิเจน
ดูแลให้ได้รับยาระงับการชักตามแผนการรักษา
ประเมินสัญญาณชีพ เป็นระยะอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย ทุก 1 ชั่วโมง
บันทึกปริมาณสารน้ำเข้าและออกจากร่างกาย
สังเกตและบันทึกอาการทางสมอง ได้แก่ ระดับความรู้สึกตัว ขนาดของ pupil และการตอบสนองต่อแสง
สังเกตและบันทึกอาการนำของการชัก ระยะเวลาของการชัก ระยะเวลาที่หยุดหายใจ ระดับความรู้สึกตัว และพฤติกรรมของสตรีตั้งครรภ์หลังอาการชัก
รายงานแพทย์เมื่อมีอาการนำของการชักหรือขณะชักและดูแลให้ได้รับยาระงับการชักตามแผนการรักษา
ให้งดอาหารและน้ำตามแผนการรักษา
จัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ และลดสิ่งกระตุ้นให้เกิดการชัก
ประเมินอัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์เป็นระยะ
เตรียมสตรีตั้งครรภ์เพื่อคลอดตามสถานการณ์ เช่น การคลอดด้วยสูติศาสตร์หัตถการทางช่องคลอด หรือการผ่าตัดคลอด
ดูแลป้องกันการชักซ้ำ ภายหลังคลอด
ให้การดูแลป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
ดูแลทารกแรกเกิด ซึ่งอาจมีภาวะขาดออกซิเจน คลอดก่อนกำหนดได้
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น
ระยะคลอด
ประเมินภาวะเสี่ยงที่อาจนำไปสู่ภาวะแทรกซ้อน เช่น การคลอดติดขัด การคลอดยาวนาน
ดูแลส่งเสริมความก้าวหน้าของการคลอด ให้คำแนะนำการปฏิบัติตัวเพื่อบรรเทาความเจ็บปวดในระยะคลอด การดูแลด้านจิตใจ เอาใจใส่ ให้กำลังใจ
ระยะหลังคลอด
เฝ้าระวังภาวะตกเลือดหลังคลอด
แนะนำการวางแผนครอบครัว เลือกวิธีการคุมกำเนิด
งดมีเพศสัมพันธ์ก่อนมาตรวจหลังคลอด
แนะนำการเลี้ยงลูกด้วยนมมารดา
ส่งเสริมการปรับตัวเข้าสู่บทบาทการเป็นมารดา เนื่องจากวัยรุ่นจะมีอารมณ์ร้อน อาจเกิดความเครียด วิตกกังวล
ระยะตั้งครรภ์
แสดงความสนใจ ให้ความเห็นใจและเข้าใจปัญหา ให้คำปรึกษาและสามารถเผชิญกับภาวะเครียดและผ่านพ้นภาวะวิกฤติไปได้
ให้คำปรึกษาและแนะนำทางเลือกในการตั้งครรภ์ เพื่อลดอัตราการทำแท้งผิดกฎหมาย กรณีเลือกยุติการตั้งครรภ์ ควรมีการวางแผนร่วมกันกับแพทย์
ให้ความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของร่างกายและจิตใจขณะตั้งครรภ์ พัฒนาการและการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ อธิบายให้เห็นความสำคัญของการมาฝากครรภ์ตามนัด การสังเกตอาการผิดปกติที่ต้องมาโรงพยาบาล
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีอาการแพ้ท้อง
ให้ข้อมูลเกียวกับสาเหตุ ปัจจัยส่งเสริม อาการและอาการแสดงของการแพ้ท้อง
ติดตามประเมินสัญญาณชีพ ติดตามชั่งน้ำหนัก สังเกตุอาการและอาการแสดง เช่น ความตึงตัวของผิว
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการและรายงานแพทย์
ดูแลให้ได้รับสารน้ำสารอาหารทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา ในรายที่เป็นรุนแรง
ดูแลให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ จัดสภาพแวดล้อมไม่ให้รบกวน
ดูแลให้ยาแก้คลื่นไส้อาเจียน เช่น promethazine รายที่เป็นมาก droperidol metoclopramid
ดูแลด้านจิตใจโดยให้กำลังใจ อยู่เป็นเพื่อน
แนะนำให้สามีและครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแลหญิงตั้งครรภ์
แนะนำการปฏิบัติตัวเมื่อกลับบ้าน เช่น แนะนําให้รับประทานอาหารแข็งที่ย่อย
ง่าย เช่น ขนมปังปิ้ง ดื่มของอุ่นๆ ก่อนตอนนอน15นา หลังรับประทานอาหารไม่ควรนอนทันที แนะนําพักผ่อนอย่างน้อย 6-8 ชั่วโมง หลีกเลี่ยงภาวะครียด
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่เ็นโรคเบาหวานร่วม
ระยะคลอด
ดูแลการพักผ่อนอย่างเพียงพอเพื่อลดการใช้พลังงานในร่างกาย
ในรายที่ต้องงดน้ำงดอาหาร สังเกตอาการน้ำตาลในเลือดต่ำ และดูแลให้สารน้ำตามแผนการรักษา
แนะนำสังเกตอาการและอาการแสดงของภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ เช่นหน้ามือ เวียนศีรษะ ถ้ามีต้องรีบแจ้งพยาบาล
ในรายที่ได้รับอินซูลิน ดูแลใหเได้ยาอย่างสม่ำเสมอ ถูกต้อง
ติดตามผลการตรวจระดับน้ำตาลในเลือดเป็นระยะตามแผนการรักษา
ติดตามวัด V/S
ติดตามประเมินสุขภาพทารกในครรภ์อย่างใกล้ชิด เพื่อเฝ้าระวังภาวะ fetal distress
กรณีไม่มีความก้าวหน้าของการคลอด ไม่สามารถคลอดทางช่องคลอดได้ ต้องเตรียมผู้ป่วยให้พร้อมต่อการผ่าตัดคลอด
ระยะหลังคลอด
ในรายที่งดน้ำและอาหารดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา ในรายที่รับประทานอาหารได้ ก็ให้ได้รับอย่างเพียงพอ
ติดตามการตรวจระดับน้ำตาลในเลือด
แนะนำสังเกตอาการผิดปกติ
ดูแลป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นหลังคลอด เช่น การตกเลือดหลังคลอด การติดเชื้อที่แผล
-แนะนำการคุมกำเนิดที่เหมาะสม
ระยะตั้งครรภ์
อธิบายให้หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวเข้าใจการดำเนินของโรค ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและป้องกันภาวะแทรกซ้อน ได้แก่ การควบคุมอาหารให้เพียงพอต่อความต้องการ ควบคุมระดับน้ำตาลใเลือด ควบคุมน้ำหนัก พักผ่อนให้เพียงพอ รักษาความสะอาดร่างกาย ระวังการเกิดอุบัติเหตุบริเวณอวัยวะส่วนปลาย สังเกตอากาผิดปกติที่ต้อรีบมาโรงพยาบาล สังเกตและนับลูกดิ้น กกรณีที่ต้องฉีดอินซูลินแนะนำการฉีดยาตามที่แพทย์สั่ง
นางสาวสุภาวดี วันสอน MN1 6405020