Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Oxygenation and Suction - Coggle Diagram
Oxygenation and Suction
การดูดเสมหะ
วัตถุประสงค์
ทำให้ทางเดินหายใจโล่ง
ระบายอากศดีขึ้น = เนื้อเยื่อไดรับออกซิเจนเพียงพอ
การประเมินเพื่อดูดเสมหะ
พบปัจจัยเสี่ยง
เสมหะ มาก เหนียว
ขับเสมหะเองไม่ได้
มีอาการแสดงของเสมหะ
ได้ยินเสียงเสมหะในหลอดลม
อัตราชีพจรเพิ่ม
หายใจลำบาก
เสียงปอดผิดปกติ
cyanosis
ประเมินหาความผิดปกติอื่น ๆ
กระสับกระส่าย หายใจอกบุ๋ม ปีกจมูกบาน
O2Sat < 95 mg%
อุปกรณ์
Mask
สําลีปราศจากเชื้อ
ถุงมือสะอาด
แอลกอฮอล์ 70 %
ท่อต่อรูปตัว Y
สายดูดเสมหะ
ผู้ใหญ่ใช้เบอร์ 14-16
เด็กใช้เบอร์ 8-10
น้ำปราศจากเชื้อ
เครื่องดูดเสมหะ
ถังขยะ
การปรับแรงดูดให้เหมาะสม
ชนิดติดฝาผนัง mmhg
เด็กโต 80-100
ผู้ใหญ่ 100 -120
เด็กเล็ก 60-90
ชนิดรถเคลื่อนที่ใช้ไฟฟ้า cmhg
เด็กเล็ก 8-10
เด็กโต 8-10
ผู้ใหญ่ 10-15
การเตรียมผู้ป่วย
อธิบายผู้ป่วยและขอความร่วมมือ
จัดท่าที่เหมาะสม
ป้องกันภาวะพร่องออกซิเจนก่อนดูดเสมอ
การปฏิบัติการดูดเสมหะ
ดูดไม่เกิน 10 นาที
หยุดพัก 20-30 วิ ในการดูดแต่ละครั้ง
ดูดไม่เกิน 3 ครั้งต่อรอบ
ดูดครบ 3 ครั้งแล้วเว้นระยะ 2-3 นาที
ใ่ส่สายดูดถึงระดับ carina
ข้อบ่งชี้ว่าการดูดมีประสิทธิภาพ
เสมหะลดลง
ไม่มีการหายใจลำบาก
ไม่มีเสียงเสมหะในหลอดลม
ไม่มี cyanosis
การให้ออกซิเจน
implementation
Mask with reservoir
/Non-rebreater Mask
1.อธิบายวัตถุประสงค์
2.เปิด Oxygen 10 LPM
3.เปิดออกซิเจนสํารองในถุง
4.คล้องสายยางกับศีรษะผู้ป่วยปรับให้พอดี –เพือป้องกันoxygen ไหลออกด้านข้าง
5.ตรวจดูว่าโป่งดีหรือไม่
6.ติดตามค่าความเข้มข้นออกซิเจน (O2 Sat)
7.ทําความสะอาดปาก (คอแห้ง ระคายเคือง มีกลิBนปาก)
8.ระมัดระวังไม่ให้สายหัก พับ งอ
9.ทําความสะอาดอุปกรณ์ทุกวัน
Tracheostomy Mask /Collar
Endo-trachial tube
1.อธิบายวัตถุประสงค์
2.เตรียมอุปกรณ์ Humidifier ,t-piece,corrugate tube
3.Callar Mask เปิด Oxygen 10 LPM
4.เช็ด Alcohol 70% รอบ tube
5.ประเมินทางเดินหายใจโล่งหรือไม่ (ฟังเสียงปอด)
6.ประเมินดูว่ามีเสมหะหรือไม่ (ถ้ามีดูดเสมหะออก)
7.ติดตามค่าความเข้มข้นของ Oxygen
8.ทําความสะอาดอุปกรณ์ทุกวัน
9.เช็คนํ Nากลั;นปริมาณที;เหมาะสม
การให้ออกซิเจนในเด็ก
1.อธิบายวัตถุประสงค์
2.เปิด Oxygen 10 LPM
3.วางกล่องให้พอดีศีรษะ
4.ตรวจดูความเข้มข้นของ Oxygen
ผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ Ventilator
1.จัดท่านอนศีรษะสูง
2.ถ้ามีเสมหะให้ดูดเสมหะออก ด้วย Aseptic technique
3.ตรวจดูข้อต่อต่างๆ ไม่หลุดออกจากกัน
4.ตรวจสอบไม่ให้มีน้ำขังตามกระเปาะต่างๆ
5.วัด cuff pressure เวรละ 1 ครั้ง
การให้ออกซิเจนบริสุทธิ์
1.เตรียมผู้รับบริการให้พร้อมสําหรับการรักษา
ห้ามนําอุปกรณ์ที่สามารถติดไฟได้ง่ายติดตัว
3.ผู้รับบริการต้องสวมเสื้อผ้าที่ทําจากฝ้าย
ถอดเครื่องประดับ
ให้ผู้ป่วยผ่อนคลายในห้อง
เฝ้าระวังอาการผิดปกต
การวัดความอิ่มตัวของ ออกซิเจน
อุปกรณ์
Pulse oxymeter
การประเมิน
ผิวหนัง อุ่นหรือซีดเย็น
สีเล็บ สีชมพูหรือ ซีด คลํ้า
ไม่ควรติด
แขนที;กําลังวัดความดันโลหิต
o แขนที;มีการตัดต่อเส้นเลือด
o มีการอุดตันของหลอดเลือดดํา
o มีการให้สารละลายทางหลอดเลือด
o ห้ามใช้ในผู้ป่ วยกําลังทําการตรวจ MRI อาจทําลายผิวหนัง
วัตถุประสงค์
ป้องกันภาวะพร่อง ออกซิเจน
ลดการทำงานของหัวใจและปอด
ให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา
อุปกรณืการให้ออกซิเจน
Oxygen flow meter
ถังออกซิเจน
ชุดให้ออกซิเจน
nasal cannula
ให้ในออกซิเจนความเข้มข้น 24-44 %
.ให้ออกซิเจน 4 ลิตร ต่อนาที
ปรับการไหลไม่เกิน 6 ลิตรต่อนาที
SimpleMask
6-10 ลิตรต่อนาที
ใช้ในความเข้มข้น 24-50 %
ปรับการไหลไม่เกิน 5 ลิตรต่อนาที
Mask with Bag
ให้ออกซิเจนความเข้มข้น75%
ปรับการไหลไม่น้อยกว่า 6LPM
CorrugateTube
SterileWater
70%Alcohol
Tracheostomymask/Collar
การประเมินผู้ป่วยพร่องออกซิเจน
ประเมินสภาพร่างกาย
ระบบหายใจ
นั่งหายใจกระสับกระส่าย หอบ
ระบบประสาท
ง่วงนอน อ่อนเพลีย ความดันลด เพ้อ
ระบบไหลเวียนโลหิต
ปวคศรีษะ คลื่นไส้ อาเจียน
ประเมินทางห้องปฏิบัติการ
fraction of in spired oxygeen
ตรวจหาระดับ อีโมโกลบิน
arterial oxygen saturation
arterial blood gas