Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 แนวทางการดำเนินงานอาชีวอนามัย, นางสาวจริยาดา คำวงษ์ ชั้นปี 3…
บทที่ 5 แนวทางการดำเนินงานอาชีวอนามัย
ความหมายะและความสำคัญของงานอาชีวอนามัย
แนวคิดการบริการอาชีวอนามัย
การสร้างเสริมและส่งเสริมสุขภาพในสถานที่ทำงาน
การค้นหาอันตรายและความเสี่ยงต่อสุขภาพจากการทำงาน
การตรวจวัดสภาพแวดล้อม และบรรยากาศในการทำงาน
การจัดการความเสี่ยง โดยการจัดลำดับความสำคัญและการแก้ไข
การเฝ้าระวังโรคและการตรวจร่างกายตามความเสี่ยง
การจัดบริการห้องพยาบาลและจัดบริการ
การจัดเก็บรวบรวมสถิติข้อมูล สุขภาพของผู้ปฏิบัติงาน
ความหมาย
ภาวะสมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สัมพันธภาพ และสถานภาพที่ดีทางสังคม - การส่งเสริม ควบคุมดูแล การป้องกันโรค และดำรงรักษาสุขภาพอานามัย
ขอบเขตของการดำเนินการอาชีวอนามัย
1. การป้องกันและควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพ
(Prevention and Control of Occupational Disease)
การป้องกันแบบปฐมภูมิ (Primary Prevention) ด้วยการสร้างเสริมสภาพ การฉีด
วัคซีนป่องกัน
การปูองกันแบบทุติยภูมิ (Secondary Prevention)ตรวจร่างกาย คัดกรอง
การป้องกันแบบตติยภูมิ (Tertiary Prevention) การรักษาพยาบาลมิให้เกิดการพิการและโรคเรื้อรัง
2. การป้องกันและควบคุมอุบัติเหตุ
จากการประกอบอาชีพ
(Prevention and Control of
Occupational Accidents)
เป็นการป้องกันและควบคุมอุบัติเหตุ การบาดเจ็บ พิการและเสียชีวิต จากสถานที่ทำงานที่มีความเสี่ยงของแรงงาน
3. การป้องกันและควบคุมมลพิษ
ในสิ่งแวดล้อม
(Environment Pollution Control)
การป้องกันและควบคุมสิ่งคุกคามใหม่
การป้องกันและควบคุมสิ่งที่ทราบอยู่แล้ว
การปูองกันและควบคุมการได้รับสัมผัส
แนวทางการดำเนินงานอาชีวอนามัย
1. การป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ
มุ่งเน้นการปูองกันโรคและอันตรายที่อาจเกิดกับผู้ประกอบอาชีพ และยังมีการเฝ้าระวังมิให้สุขภาพผู้ประกอบอาชีพเสื่อมโทรมลงไปจากการทำงาน
2. การรักษาพยาบาลและการส่งต่อ
มีการปฐมพยาบาลในกรณีที่คนงานได้รับอุบัติเหตุก่อนส่งต่อเพื่อรักษา
3. ฟื้นฟูสภาพ
มีการตรวจสุขภาพคนงานที่หายเจ็บป่วยแล้ว เพื่อดูว่าเขามีความ สามารถและเหมาะสมจะทำงานใหม่ได้เพียงใด
4. ตรวจพิเศษด้านอาชีวเวชศาสตร์
ตรวจสมรรถภาพการได้ยิน
ตรวจสมรรถภาพปอด
ตรวจสมรรถภาพการมองเห็น
5. การบันทึกระเบียนรายงาน
มีการรวบรวมสถิติและความปลอดภัย เช่น สถิติการเกิดโรคภัยไข้เจ็บ การเกิดอุบัติเหตุจากการทำงาน
แนวทางปฏิบัติงานบริการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในโรงพยาบาล
1. การเฝ้าระวังสิ่งคุกคาม (Hazard surveillance)
2. การเฝ้าระวังทางสุขภาพ (Health surveillance)
การจัดบริการอาชีวอนามัยเชิงรุกสำหรับผู้ประกอบอาชีพในชุมชนบริการเชิงรุก
สำรวจและประเมินความเสี่ยงจากการทำงาน
สนับสนุนเครือข่ายการจัดการความเสี่ยง
จัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ
การให้ความรู้คำปรึกษาการวิชาการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยแก่นายจ้าง
จัดอบรม อสม.
เก็บข้อมูลพื้นฐาน
การสอบสวนโรคหรืออุบัติเหตุจากการทำงาน
จัดทำแผนสำรองฉุกเฉิน
อันตรายจากสภาพแวดล้อมในการทำงานและการควบคุม
1. อันตรายจากสภาพแวดล้อมทางเคมี
(Chemical Environmental Hazards)
กลุ่มสารเคมีที่เป็นพิษ ก๊าซพิษ สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
ตัวทำละลาย
ฝุุนละอองที่ทำให้เกิดโรคปอด
สารเคมีที่ก่อมะเร็ง
2. อันตรายจากสภาพแวดล้อมทางกายภาพ (Physical Environmental Hazards)
เสียง (Noise)
แสงสว่าง (Lighting)
ความสั่นสะเทือน (Vibration)
อุณหภูมิที่ผิดปกติ (Abnormal temperature)
ความดันบรรยากาศที่ผิดปกติ (Abnormal pressure)
รังสี (Radiation)
3. อันตรายจากสภาพแวดล้อมทางชีวภาพ (Biological Environmental Hazards)
เชื้อจุลินทรีย์ต่าง ๆ
ฝุุนละอองจากส่วนของพืชหรือสัตว์
การติดเชื้อจากสัตว์หรือแมลง
การถูกทำร้ายจากสัตว์หรือแมลง
4. อันตรายจากสภาพแวดล้อมทางด้านการยศาสตร์(Ergonomics)
เป็นอันตรายจากการใช้ท่าทางทำงานที่ไม่เหมาะสม
วิธีการปฏิบัติงานที่ไม่ถูกต้อง
การปฏิบัติงานที่ซ้ าซาก และความไม่สัมพันธ์กันระหว่างคนกับงานที่ทำ
หลักการป้องกัน และควบคุมโรค
ที่เกิดจากการประกอบอาชีพ
1. การควบคุมและป้องกันที่สิ่งแวดล้อม
2. การควบคุมป้องกันด้านตัวบุคคล
การให้การศึกษาและฝึกอบรม แนะนำความรู้ความเข้าใจด้านสุขภาพ อนามัยและความปลอดภัย
ควบคุมและป้องกันทางด้านการแพทย์โดยวิธีการตรวจสุขภาพ เพื่อสำรวจความเหมาะสมในงานที่จะต้องทำ
3. การบริหารจัดการ
แบ่งการทำงานเป็นกะ
แยกแยะส่วนการทำงานของคนงานกับส่วนพื้นที่อันตราย
หาสารททดแทนที่คุณสมบัติใกล้เคียงหรืออันตราน้อยกว่า
การเลือกใช้กระบวนการทำงานการผลิตที่เป็นอันตรายน้อยกว่า
ใช้วิธีปิดคลุมกระบวนการที่มีพิษหรืออันตราย
แยกกระบวนการที่เป็นอันตรายหรือเป็นพิษออกเป็นพื้นที่เฉพาะและกำหนดระเบียบปฏิบัติเวลาการเปิดปิด
การใช้ระบบระบายอากาศทั้งแบบเฉพาะที่และแบบทั่วไป
การใช้ระบบเปียกชื้นปูองกันการฟุูงกระจาย
การตรวจสภาพการทำงาน ติดตั้งสัญญาณเตือนภัย
การเฝ้าระวังโรค
การจดทะเบียนการตาย การวิเคราะห์ข้อมูล และประเมินผล
การรายงานการป่วยและการระบาดของโรค การรับฟังความ คิดเห็น ฝ่ายอื่น ๆ
การสืบสวน กรณี/สอบสวน เฉพาะราย/และทางห้องปฏิบัติการ
การสำรวจทางระบาดวิทยา
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีวอนามัย
พระราชบัญญัติ คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ คุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562
พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเติมโดย
พระราชบัญญัติเงินทดแทน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561
พระราชบัญญัติประกันสังคม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558
พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 แก้ไขโดยพระราชบัญญัติ
โรงงาน (3 ฉบับที่) พ .ศ.2562
พระราชบัญญัติ ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2554
ระเบียบกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ว่าด้วยพนักงาน
กองทุนเพื่อผู้ใช้แรงงาน พ.ศ. 2553
บทบาทและหน้าที่ของพยาบาลอาชีวอนามัย
1. การบริหารจัดการผู้เจ็บป่วยรายกรณี
จัดเตรียมให้การดูแลรักษา ช่วยเหลือติดตามและส่งต่อ ตลอดจนการให้การดูแลเบื้องต้น ในกรณีลูกจ้างได้รับบาดเจ็บจากการทำงาน
2. การให้คำปรึกษาหาและการจัดการดูแลในภาวะวิกฤติ
ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการเจ็บป่วยหรือการบาดเจ็บจากการทำงาน
3. การส่งเสริมสุขภาพและลดความเสี่ยง
จัดสอนศึกษาฝึกอบรมตลอดจนกระตุ้นให้รับผิดชอบต่อการดูแลสุขภาพของตนเอง
4. การปฏิบัติตามข้อกาหนดกฎหมาย
กฎหมายแรงงานและสวัสดิการสังคม กฎหมายประกันสังคม พยาบาลอาซีวนามัยซึ่งปฏิบัติงานร่วมกับนายจ้างจำเป็น ลูกจ้างควรได้รับการปกป้อง คุ้มครองดูแลด้านสุขภาพเละความปลอดภัยจากรัฐ
5. การปกป้องจากสิ่งก่ออันตราย
ในสถานประกอบการของผู้ใช้แรงงาน
พยาบาลอาชีวอนามัย
จำเป็นต้องรู้สภาวะสุขภาพของพนักงาน ที่ปฏิบัติงานอยู่ในกระบวนการขั้นตอนผลิตตั้งแต่ต้นจนจบ เพื่อป้องกันอุบัติเหตุหรือโรคจากการทำงานโดยให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลายฝ่ายร่วมกันประเมินปัญหา วางแผน ดำเนินการตามแผนและประเมินผล เพื่อช่วยพัฒนาแนวทางแก้ไขปัญหาในระบบงานอาชีวอนามัย
นางสาวจริยาดา คำวงษ์
ชั้นปี 3 รหัสนักศึกษา 621201110