Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สังคมไทยและการเปลี่ยนแปลงในสังคมไทย - Coggle Diagram
สังคมไทยและการเปลี่ยนแปลงในสังคมไทย
ลักษณะของสังคมไทย
มีลักษณะเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
เป็นสังคมเกษตร
มีการศึกษาต่ำ
มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข
รวมอำนาจไว้ที่ส่วนกลาง
มีพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
มีการอพยพเคลื่อนย้ายไปสู่ถิ่นอื่นมากขึ้น
มีโครงสร้างของการแบ่งชนชั้น
ลักษณะการเปลี่ยนแปลงในสังคมไทย
การเปลี่ยนแปลงด้านการเมือง
จากการปกครองแบบพ่อปกครองลูกในสมัยสุโขทัยเป็นแบบเทวราชาในสมัยกรุงศรีอยุธยาได้เปลี่ยนเป็นระบอบประชาธิปไตย
การเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ
จากระบบแบบยังชีพในสมัยสุโขทัยไปสู่ระบบเพื่อการค้าในสมัยกรุงศรีอยุธยาและปัจจุบันประเทศไทยจะเข้าสู่ความเป็นประเทศอุตสาหกรรมใหม่หรือนิคส์ของเอเชีย
การเปลี่ยนแปลงด้านสังคม
หลังการยกเลิกระบบไพร่และทาสสถานภาพนับตั้งแต่รัชกาลที่ 4 เป็นต้นมาขึ้นอยู่กับการศึกษาและความสามารถของบุคคล
ผลของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
ผลดี - ทำให้สภาพการดำรงชีวิตของสมาชิกในสังคมมีความสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น ทำให้สังคมมีความเจริญก้าวหน้าทัดเทียมกับสังคมอื่นๆ ทำให้คนในสังคมได้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆมากขึ้น
ผลเสีย - ผู้คนปรับตัวไม่ทัน การเปลี่ยนจากสังคมเกษตรมาเป็นสังคมอุตสาหกรรมก็ทำให้คนไม่ชินกับงาน วัฒนธรรมเดิมๆอาจสูญหาย ในปัจจุบันคนหันมาฟังเพลงต่างประเทศเพิ่มมากขึ้น
แนวโน้มสังคมไทย
ด้านเศรษฐกิจ
-อาชีพเกษตรกรรมจะมีรายได้เฉลี่ยน้อยกว่ารายได้อื่นๆ
-เสียเปรียบดุลการค้าต่อเนื่อง
-แรงงานภาคอุตสาหกรรมจะเริ่มกลับเข้าสู่ภาคเกษตรกรรม
-พัฒนาบุคลากรที่มีความสามารถในเฉพาะสาขา
-มีการใช้เครื่องจักรกลมากขึ้นในทุกวงการ
-มีการทำงานที่ต้องใช้ช่างฝีมือ
-มีการสื่อสารคมนาคมและขนส่งทางเครื่องบิน
ด้านสังคม
-เป็นสังคมบริโภคนิยมมากขึ้น
-เป็นครอบครัวเดี่ยวมากขึ้น
ด้านการเมือง
-เปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมทางการเมืองมากขึ้น
-มีความเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น