Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ : แนวทางพัฒนาสู่ความสำเร็จขององค์การ, สรุปโดย …
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ : แนวทางพัฒนาสู่ความสำเร็จขององค์การ
วัตถุประสงค์
เพื่อการสร้างความรู้ (Knowledge)
2 . เพื่อสร้างความเข้าใจ (Understanding)
เพื่อเสริมสร้างทักษะ (Skill)
เพื่อเสริมสร้างและปรับเปลี่ยนทัศนคติ (Attitude)
เพื่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ดี (Behavior)
แนวความคิดการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
แนวคิดกลุ่มที่ 1
การฝึกอบรม(Training)
การศึกษา (Education)
การพัฒนา (Development)
แนวคิดกลุ่มที่ 2
การพัฒนารายบุคคล (Individual
Development – ID.)
1.1 การฝึกอบรม (Training)
1.2 การศึกษา (Education)
1.3 การพัฒนา (Development)
2 . การพัฒนาสายอาชีพ ( Career
Development – CD.)
วางแผนอาชีพ (Career planning)
ดำเนินการจัดการอาชีพ (Career
management)
เพื่อดำเนินการกำหนดสายความก้าวหน้าทางอาชีพ (Career path) การพัฒนาและสร้างเสริมทักษะ ประสบการณ์ และศักยภาพเพื่อเตรียมบุคลากรสำหรับความก้าวหน้าในสายอาชีพ และเปิดโอกาสให้บุคลากรแต่ละคนมีโอกาสเติบโตและก้าวหน้าในงานตามแผนสายอาชีพที่ได้วางไว้เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตงาน
การพัฒนาองค์กร (Organization
Development – OD.)
1) เพื่อกำหนดการตามเป้าหมายขององค์การใหม่
การวินิจฉัยองค์การ
1) ด้านทรัพยากรมนุษย์
2) ด้านระบบ
3) ด้านบรรยากาศองค์การ
2) เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
การบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management – PM.)
การเชื่อมโยงเป้าหมายผลการปฏิบัติงานในระดับองค์การ ระดับหน่วยงาน จนถึงระดับบุคคลเข้าด้วยกัน ระบบการบริหารผลการปฏิบัติงานเป็นการบริหารผลการปฏิบัติงานของบุคลากรให้สอดคล้องและเป็นไปในทางเดียวกัน
สรุป
การพัฒนารายบุคคล
(1) การฝึกอบรม
(2) การศึกษา
(3) การพัฒนา
การพัฒนาอาชีพ
(1) การวางแผนอาชีพ
(2) การจัดการอาชีพ
การพัฒนาองค์การ
(1) เป็นวาระแห่งการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในองค์การ
ขั้นตอนในการพัฒนาองค์การ 5 ขั้นตอน
(1) การจัดตั้งทีมงานพัฒนาองค์การ
(2) การวินิจฉัยองค์การ
(3) การวางแผนในการพัฒนาองค์การ
(4) การนำแผนไปปฏิบัติเพื่อการพัฒนาองค์การ
(5) การประเมินการพัฒนาองค์การ
(2) เป็นวาระที่จะพัฒนาในด้านต่างๆ ขององค์การ
การบริหารผลการปฏิบัติงาน
(1) การวางแผนการดำเนินงาน
(2) การบริหารและพัฒนาผลการปฏิบัติงาน
(3) การประเมินผลการปฏิบัติงาน
แนวคิดกลุ่มที่ 3
ระดับบุคคล (Individual)
ระดับกลุ่มหรือทีมผู้ปฏิบัติงาน
(Work Group or Teams)
ระดับระบบโดยรวม (The system)
1) เรียนรู้จากอดีต
2) เรียนรู้จากปัจจุบัน
3) เรียนรู้จากอนาคต
กระบวนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
Delahaye (2005)
การวิเคราะห์หาความต้องการจำเป็นการในพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
การออกแบบวิธีการและการเลือกเครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
การดำเนินการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
การประเมินผลการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
เครื่องมือของการพัฒนา
การบรรยายโดยผู้บรรยาย (Instructor)
การเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
การเรียนรู้แบบกรณีศึกษา (Case Study)
การแสดงบทบาทสมมติ (Role Playing)
การเรียนรู้ด้วย เกม บริหาร (Business , Management Games)
การเรียนรู้ด้วยกิจกรรมนันทนาการ (Recreational Activity)
การประชุมเชิงปฏิบัติการ (Work Shop)
การฝึกงานในสถานการณ์จริง (On the Job Training)
มีสมรรถนะที่จำเป็นและเหมาะสม
ด้านความรู้ (Knowledge)
ความเข้าใจ (Understanding)
ทักษะ (Skill)
ทัศนคติ (Attitude)
สามารถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม (Behavior)
ข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติการ
ด้านหลักสูตรการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ควรมีการจัดหลักสูตรการเรียนรู้ การสอน การอบรม ให้มีความทันสมัยและตรงต่อความต้องการที่แท้จริง
ด้านการใช้สื่อในการเรียนรู้ การสอน การอบรม ควรจัดสื่อและเครื่องมือต่างๆ เข้ามาใช้ในการจัดการเรียนรู้ การสอน การอบรม เพื่อดึงดูดความสนใจให้ผู้เข้ารับการอบรม
ด้านการจัดการเรียนรู้ การสอน การอบรม ควรจัดให้มีกิจกรรมนำการเรียนรู้ในทุกๆ หัวข้อเพื่อสร้างความน่าสนใจในเนื้อหาต่างๆ
ด้านการสร้างวัฒนธรรมองค์การให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ เพื่อสร้างบรรยากาศการทำงานแบบมีส่วนรวม และสร้างบรรยากาศในการแบ่งบันความรู้และแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกันในองค์การ
สรุปโดย นายอภิชัย สุขโนนจารย์ รหัส 64010583002