Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ชนิดของคำ - Coggle Diagram
ชนิดของคำ
คำวิเศษณ์
4.1 คำวิเศษณ์บอกลักษณะ (ลักษณวิเศษณ์)
4.2 คำวิเศษณ์บอกเวลา (กาลวิเศษณ์)
4.3 คำวิเศษณ์บอกสถานที่ (สถานวิเศษณ์)
4.4 คำวิเศษณ์บอกปริมาณหรือจำนวน (ประมาณวิเศษณ์)
4.5 คำวิเศษณ์บอกความชี้เฉพาะ (นิยมวิเศษณ์)
4.6 คำวิเศษณ์บอกความไม่ชี้เฉพาะ (อนิยมวิเศษณ์)
4.7 คำวิเศษณ์แสดงคำถาม (ปฤจฉาวิเศษณ์)
4.8 คำวิเศษณ์แสดงคำขานรับ (ประติชาญาวิเศษณ์)
4.9 คำวิเศษณ์แสดงความปฏิเสธ (ประติเษธวิเศษณ์)
คำที่ใช้ประกอบคำอื่นให้เนื้อความขยายออกไป
คำสันธาน
6.1 เชื่อมให้คล้อยตามกัน
กับ , และ , ทั้ง...และ , ทั้ง...ก็ , ครั้ง...จึง , พอ...ก็
6.2 เชื่อมให้ความเป็นเหตุเป็นผลกัน
จึง , ครั้ง...จึง , พอ...ก็
6.3 เชื่อมความที่ขัดแย้งกัน
แต่ , ถึง...ก็ , แต่ทว่า , แม้...ก็
6.4 เชื่อมความให้เลือกเอาอย่างใดอย่างหนึ่ง
หรือ , หรือไม่ก็ , ไม่เช่นนั้น , มิฉะชั้น..ก็
1.คำนาม
1.4 สมุหนาม (คำนามรวมหมู่)
ลูกเสือ 1 กอง / เหล่าทหาร
1.5 อาการนาม (คำนามธรรม)
มีคำว่าการ/ความ + กริยา
การเรียน การบ้าน ความหมาย ความสามารถ ความรัก
1.3 ลักษณนาม (คำนามแสดงลักษณะ)
บอกรูปร่าง ลักษณะ มักอยู่หลังคำนาม
1.2 วิสามานยนาม (คำนามชี้เฉพาะ)
โรงเรียนสาธิตเกษตร / หมอตำแย
1.1 สามานยนาม (คำนามไม่ชี้เฉพาะ)
โรงเรียน แพทย์ ต้นไม้ ใบไม้
คำที่ใช้เรียกชื่อคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่
หน้าที่
ประธาน / กรรม ของ ปย.
ส่วนขยายนามอื่น
ขยายกริยา / เติมเต็มกริยาบางคำ
ตามหลังบุพบทเพื่อให้ชัดเจน
เป็นคำเรียกขาน
3.คำกริยา
3.1 อกรรมกริยา
กริยาไม่ต้องมีกรรมมารองรับ
ฉัน... + เดิน นั่ง นอน กระโด
3.2 สกรรมกริยา
กริยาต้องมีกรรมมารองรับ
ฉัน+กิน V.+ข้าว O.
3.3 วิกตรรถกริยา
ไม่มีความสมบูรณ์ในตัวเองต้องอาศัยคำนาม สรรพนาม คำวิเศษณ์ มาเติมข้างหลังเสมอ
3.4 กริยานุเคราะห์
กริยาช่วย
กำลัง คง จะได้ ย่อม ให้ แล้ว เสร็จ
3.5 กริยาสภาวมาลา
กริยาที่ทำหน้าที่เป็นคำนาม
นอนหลับเป็นการพักผ่อนที่ดี
คำแสดงอาการ กระทำ (ภาคแสดง)
หน้าที่
เป็นภาคแแสดง / ส่วนขยายคำนาม / เป็น ปธ. กรรม (บทขยาย)
คำอุทาน
7.1 อุทานบอกอาการ !
เฮ้! เฮ้อ! เหม่! อุ๊ย!
7.2 อุทานเสริมบท
เสริมขึ้นเพื่อให้คล้องจอง
หนังสือหนังหา , ส้มสุกลูกไม้
แทรกลงในบทประพันธ์
อ้า โอ้ โอ้ว่า แล นา ฤๅ
2.คำสรรพนาม
2.1 บุรุษสรรพนาม
3 บุรุษ
บุรุษที่ 1
เรา หนู ฉัน ข้าพเจ้า
บุรุษที่ 2
เธอ แก ท่าน คุณ
บุรุษที่ 3
มัน เขา พวกเขา
2.2 ประพันธสรรพนาม
ผู้ ที่ ซึ่ง อัน
2.3 วิภาคสรรพนาม
บ้าง ต่าง กัน
2.4 นิยมสรรพนาม
นี่ นั่น โน่น นี้ (บอกความใกล้ไกลแบบเจาะจง)
2.5 อนิยมสรรพนาม
ใคร อะไร ที่ไหน ผู้ใด (บอกแบบไม่เจาะจง)
2.6 ปฤจฉาสรรพนาม
คำถาม
ใคร อะไร ผู้ใด ที่ไหน ?
คำแทนชื่อต่าง ๆ
หน้าที่
ปธ. / กรรม / เติมเต็ม ปย.
คำบุพบท
เชื่อมคำ : ใช้นำหน้าคำนาม สรรพนาม
หรือคำกริยาบางพวกเพื่อบอกตำแหน่ง
ไม่เชื่อมคำอื่น (ใช้ในบทประพันธ์) เช่น ดูกร ข้าแต่
เชื่อมคำอื่น นำหน้านาม สรรพนาม กริยา เช่น ซึ่ง แก่ แห่ง ของ โดย ตาม