Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แผน นโยบาย และยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวไทย TM64 - Coggle Diagram
แผน นโยบาย และยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวไทย TM64
1.พระราชบัญญัติการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ.2562
แบ่งออกเป็น2ประเภท
หน่วยงานของรัฐ
ดำเนินการตามอำนาจหน้าที่เพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามแผนพัฒนการก่องเที่ยวแห่งชาติและเพื่อให้การดำเนินการเป็นไปโดยบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนด
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
ให้คำแนะนำแก่หน่วยงานของรัฐเพื่อจัดทำแผนงานหรือดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งตามแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ
พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัตินโยบายการท่องเท่ียวแห่งชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒”-เพื่อให้การบริหารและพัฒนาการท่องเที่ยว มีเอกภาพ
-เพื่อให้การบิหารและพัฒนาการท่องเที่ยว มีทิศทางและความต่อเนื่อง
-เพื่อให้มีระบบบริการการจัดการแหล่องเที่ยวท่อง ที่ถูกต้อง เหมาะสม มีคุณภาพ ยั่งยืน
-สอดคล้องกับหลักการท่องเที่ยวเพื่อคนทั้งมวล ลดความเหลื่อมล้ำ และสร้างความเป็นธรรมในสังคม
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
ให้ไว้ ณ วนัที่ ๑๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๒
เป็นปีที่ ๔ ในรัชกาลปัจจุบัน
ตัวอย่างมาตรา
มาตรา ๑๗
เพื่อประโยชน์ในการรักษา ฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยว หรือการบริหารและ
พัฒนาการท่องเที่ยว ให้สอดคล้องกับแผนพัฒนำกำรท่องเที่ยวแห่งชำติ คณะกรรมการอำจกำหนดให้
เขตพื้นที่ใดเป็นเขตพัฒนาการท่องเที่ยวได้ โดยพิจารณาร่วมกับหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องและ
ผู้ว่าราชการจังหวัดในเขตพื้นที ทั้งนี้ ให้มีการรับฟังความคิดเห็นและความต้องการของชุมชนในพื้นที่เพื่อประกอบการพิจารณาด้วย
มาตรา ๑๕
คณะกรรมการนโยบายการท่องเท่ียวแห่งชาติ เรียกโดยย่อว่า “ท.ท.ช.”
มาตรา ๑๐/๒
มีการจัดเก็บค่าธรรมเนียมการท่องเที่ยวภายในประเทศ ของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเพื่อใช้จ่ายในการบริหารและพัฒนาการท่องเท่ียว รวมทั้งใช้จ่ายในการจัด ให้มีการประกันภัยแก่นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติในระหว่างท่องเที่ยวภายในประเทศได้
“มาตรา ๒๒ ให้จัดตั้งกองทุนขึ้นในสานักงานเรียกว่า “กองทุนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวไทย” มีวัตถุประสงค์เพ่ือใช้เป็นทุนหมุนเวียนในการพัฒนาการท่องเท่ียว
วัตถุประสงค์
เพื่อให้หน่วยราชการต่าง ๆ ที่ทำงานเกี่ยวกับการท่องเที่ยวซึ่งกระจัดกระจายตามกระทรวงต่าง ๆ ได้มารวมในที่เดียวกันและพูดเรื่องเดียวกันจะได้ไม่สิ้นเปลืองงบประมาณโดยไม่จำเป็น
2.เพื่อให้มีการบูรณาการการทำงานของหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้ดียิ่งขึ้น
3.จัดให้มีระบบการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยว เพื่อขจัดอุปสรรคในการพัฒนาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
4.การพัฒนากลไกการท่องเที่ยวที่สามารถลดความเหลื่อมล้ำและสร้างความเป็นธรรมให้นักท่องเที่ยวทุกหมู่เหล่า
5.ให้มีการจัดเก็บค่าธรรมเนียมการท่องเที่ยวจากนักท่องเที่ยวต่างชาติ เพื่อใช้จ่ายในการบริหารและพัฒนาการท่องเที่ยวและจัดให้มีการประกันภัยแก่นักท่องเที่ยวต่างชาติในระหว่างท่องเที่ยวในประเทศ
6.ให้มีการประกาศกำหนดเขตพัฒนาการท่องเที่ยวให้มีความรัดกุมคล่องตัวมากขึ้น
กลไกล
กำหนดนโยบาย และบริหารจัดการการท่องเที่ยวของประเทศให้มีระบบ สอดรับ เชื่องโยงกัน
คณะกรรมการ "ท.ท.ช."
การจัดตั้งคณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ ( ท.ท.ช.) ประกอบด้วยนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาเป็นรองประธาน และรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องอีก 6 กระทรวง ปลัดกระทรวงอีก 5 กระทรวง เลขาธิการสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ตัวแทนท้องถิ่นทั้งสามองค์กร ตัวแทนเอกชนที่สำคัญ คือ ประธานสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย ประธานสภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย และผู้ทรงคุณวุฒทางด้านการท่องเที่ยวอีก 7 คน
3.แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
นโยบายและยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว
เมื่อพิจารณานโยบายและยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องจากกรอบยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 และคำแถลงนโยบายที่เกี่ยวข้อง มีนโยบายและยุทธศาสตร์ที่สำคัญในการพัฒนาการท่องเที่ยวไทยในแนวทางต่างๆ ดังนี้
คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ
1. กรอบยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ. 2560-2579
ตามแนวทางพระราชบัญญัติการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติ พุทธศักราช 2560 มีวิสัยทัศน์ "ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง" เพื่อให้ประเทศมีขีดความสามารถในการแข่งขัน มีรายได้สูงอยู่ในกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ (1) ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง (2) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน (3) ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน (4) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม (5) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และ (6) ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ เมื่อวิเคราะห์แล้วมียุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยตรงดังนี้
ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
2.1 การพัฒนาภาคการผลิตและบริการ
2.1.4 พัฒนาความหลากหลาย คุณภาพ และสร้างเอกลักษณ์การท่องเที่ยวไทย เพื่อให้ประเทศไทยเป็นจุดหมายปลายทางที่สำคัญของการท่องเที่ยวโลก ที่มีความเป็นมืออาชีพและสร้างความประทับใจที่คุ้มค่ากับนักท่องเที่ยวทั่วโลก โดยต้องเน้นการท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ สามารถสร้างรายได้ จากการท่องเที่ยวที่สูงขึ้นให้กับประเทศ
2. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560-2564
คณะรัฐมนตรีได้พิจารณาประกาศใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 ซึ่งเป็นแผนที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และแผนการปฏิรูปประเทศด้านต่างๆ ให้ประกาศใช้ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 จนถึง 30 กันยายน 2564 โดยกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศไว้ 10 ยุทธศาสตร์ เมื่อวิเคราะห์แล้วมียุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการท่องเที่ยวดังนี้
ยุทธศาสตร์ที่ 1การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์
3 แนวทางการพัฒนา
3.5 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการระบบสุขภาพภาครัฐและปรับระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ โดยระบุใน 3.5.3) ให้มีการพัฒนาระบบประกันสุขภาพของแรงงานต่างชาติและนักท่องเที่ยวให้สามารถใช้บริการสุขภาพที่มีคุณภาพและมีการควบคุมการใช้บริการอย่างเหมาะสม โดยไม่กระทบต่อความมั่นคงของประเทศทั้งในด้านการคลังและสาธารณสุข
ยุทธศาสตร์ที่ 2การสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ำในสังคม
3 แนวทางการพัฒนา
3.3 เสริมสร้างศักยภาพชุมชน การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน และการสร้างความเข้มแข็งการเงินฐานรากตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้ มีสิทธิในการจัดการทุน ที่ดิน และทรัพยากรภายในชุมชม โดยระบุในข้อ 3.3.3) ให้มีการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนโดยส่งเสริมการท่องเที่ยวท้องถิ่นและการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ในชุมชนที่มีแหล่งท่องเที่ยว
1 more item...
4.Thailand 4.0
นโยบาย4.0
เป็นวิสัยทัศน์เชิงนโยบาย ที่เปลี่ยนเศรษฐกิจแบบเดิมไปสู่เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม
เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม ได้แก่
2.เปลี่ยนจากการขับเคลื่อนประเทศด้วยภาคอุตสาหกรรมไปสู่การขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี และความคิดสร้างสรรค์
1.เปลี่ยนจากการผลักดันสินค้าโภคภัณฑ์ไปสู่สินค้าเชิงนวัตกรรม
3 .เปลี่ยนจากการเน้นภาคการผลิตสินค้าไปสู่การเน้น ภาคบริการมากขึ้น
เน้นการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่มที่มีแม้จะมีจำนวนน้อย แต่สร้างรายได้สูงได้ ด้วยการสนับสนุนให้เอกชนและชุมชนในพื้นที่ พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวของตัวเองขึ้นมาตอบสนอง และหันมองไปรอบข้างไปยังเพื่อนบ้าน สร้างการท่องเที่ยวแบบCollaborative
การท่องเที่ยวเป็นอุตสาหกรรมที่เกื้อกูลเรื่องความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคม จิตวิทยา และการต่างประเทศ เป็นอุตสาหกรรมที่ต้องบูรณาการทุกภาคส่วน จุดอ่อนคือมีความอ่อนไหวสูงต่อผลกระทบตลอดเวลา เช่น ภัยธรรมธรรมชาติ การเมือง และเศรษฐกิจผันผวน
5 ประเด็นรับทัวริสต์โต
อนาคตอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทยในยุคเทคโนโลยีเป็นใหญ่ นายมาริโอ ฮาร์ดี้ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารสมาคมส่งเสริมการท่องเที่ยวภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกหรือ PATA ให้ความเห็นว่า ในช่วงหลายปีที่ ผ่านมา การท่องเที่ยวไทยมีการเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่ดี เห็นได้จากจำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางมาเที่ยวในไทยที่มีจำนวนทวีคูณเพิ่มมากขึ้น ไทยจะต้องคิดหาวิธีการรับมือกับนักท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้น ดังนี้
หันไปเน้นการบริหารจัดการ ที่ทำให้เกิดการหมุนเวียน และการกระจายตัวของนักท่องเที่ยว โดยคำนึงถึงความสามารถรองรับจำนวนนักท่องเที่ยวของแหล่งท่องเที่ยวในแต่ละช่วงเวลา (Carrying Capacity) ทั้งนี้ภาครัฐและเอกชนควรร่วมมือกันทำงานด้านการตลาด เพื่อกระจายนักท่องเที่ยวไปยังแหล่งท่องเที่ยวอื่นๆ ที่มีความน่าสนใจไม่แพ้แหล่งท่องเที่ยวหลัก
การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการคมนาคมขนส่ง ซึ่งหมายรวมถึงการพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะให้ครอบคลุมพื้นที่ที่มีแหล่งท่องเที่ยวสำคัญ
ชุมชนจะได้รับประโยชน์จากการเติบโตของการท่องเที่ยว ก็ต่อเมื่อคนในท้องถิ่นได้รับการศึกษาจนมีความรู้และเข้าใจว่า ตัวเองมีส่วนร่วมอยู่ในส่วนใดของห่วงโซ่อุปทานทางการท่องเที่ยว และจะต้องทำอย่างไรเพื่อให้ได้รับประโยชน์จากการท่องเที่ยวมากขึ้น เช่น ชาวบ้านที่มีอาชีพเกษตรกรก็เป็นผู้ที่ได้รับประโยชน์จากการขายผล ผลิตทางการเกษตรให้แก่ผู้ประกอบการท่องเที่ยว
ปัจจุบันมีเทคโนโลยีใหม่ๆ เกิดขึ้นมากมาย แต่เทคโนโลยีที่ไทย น่าได้รับผล กระทบสูงสุดคือ การใช้ Fin- tech หรือการเปลี่ยนวิธีการชำระเงินต่างๆ จากสังคมที่ใช้เงินสดไปสู่การชำระเงินผ่านระบบออนไลน์ เช่น BluePay หรือ AirPay เป็นต้น
ธุรกิจในท้องถิ่นและผู้ประกอบการเอกชนขนาดใหญ่ควรจะแบ่งปันและใช้ผลประโยชน์จากเทคโนโลยีร่วมกัน โดยภาคธุรกิจในระดับ ท้องถิ่นควรให้ความสำคัญ กับ Small Data เช่น ข้อมูลบทวิจารณ์ของลูกค้าที่ถูกเขียนบนแพลตฟอร์มต่างๆ ทั้งความเห็นในแง่บวกและแง่ลบ ทั้งนี้หากพบว่ามีความเห็นในแง่ลบเกิดขึ้น ผู้รับผิดชอบจะต้องรีบหาทางจัดการหรือตอบสนองกับความคิดเห็นเหล่านั้นทันที รวมทั้ง ต้องนำข้อคิดเห็นเหล่านั้นมาพัฒนาปรับปรุงการบริการ
ทั้งหมดล้วนเป็นความเห็นจาก 2 กูรูระดับโลกที่ภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวทั้งภาครัฐและเอกชน น่าจะนำมาปรับใช้ในการขับเคลื่อนการท่องเที่ยวที่จะยืนหยัดได้ในยุค 4.0
Thailand4.0จะพัฒนาเรื่องใดบ้าง?
1.กลุ่มอาหาร เกษตร และเทคโนโลยีชีวภาพ เช่น สร้างเส้นทางธุรกิจใหม่ (New Startups) ด้านเทคโนโลยีการเกษตรเทคโนโลยีอาหาร เป็นต้น
2.กลุ่มสาธารณสุข สุขภาพ และเทคโนโลยีทางการแพทย์เช่น พัฒนาเทคโนโลยีสุขภาพเทคโนโลยีการแพทย์ สปา เป็นต้น
3.กลุ่มเครื่องมือ อุปกรณ์อัจฉริยะ หุ่นยนต์ และระบบเครื่องกลที่ใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์ควบคุมเช่น เทคโนโลยีหุ่นยนต์ เป็นต้น
4.กลุ่มดิจิตอล เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตที่เชื่อมต่อและบังคับอุปกรณ์ต่างๆ ปัญญาประดิษฐ์และเทคโนโลยีสมองกลฝังตัวเช่น เทคโนโลยีด้านการเงิน อุปกรณ์เชื่อมต่อออนไลน์โดยไม่ต้องใช้คน เทคโนโลยีการศึกษา อี–มาร์เก็ตเพลส อี–คอมเมิร์ซ เป็นต้น
5.กลุ่มอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ วัฒนธรรม และบริการที่มีมูลค่าสูงเช่น เทคโนโลยีการออกแบบ ธุรกิจไลฟ์สไตล์เทคโนโลยีการท่องเที่ยว การเพิ่มประสิทธิภาพการบริการ เป็นต้น
Thailand4.0จะพัฒนาอย่างไร
กลุ่มที่1. การยกระดับนวัตกรรมและผลิตพรรณ การปรับแก้กฎหมายและกลไกภาครัฐภาคอุตสหกรรมแห่งอนาคตและการดึงดูดการลงทุน
กลุ่มที่2 การพัฒนาการเกษตรสมัยใหม่และการพัฒนาเศรฐกิจฐานรากและประชารัฐ
กลุ่ม3 การส่งสารการท่องเที่ยวและไมล์ การสร้างรายได้และการกระตุ้นการใช้จ่ายภาครัฐ
กลุ่มที่4 การศึกษาพื่นฐานและพัฒนาผู้นำรวมทั้งการยกระดับคูณภาพวิชาชีพ
กลุ่มที่5การส่งเสริมการส่งออกและการลงทุนระหว่างประเทศ
6.แผนยุทธศาสตร์พัฒนาการท่องเที่ยว พ.ศ.2561-2564
แผนยุทธศาสตร์พัฒนาการท่องเที่ยวไทยพ.ศ.2561 - 2564 ได้มุ่งเน้นให้ความสำคัญกับการวางรากฐานและแก้ไขปัญหาที่เป็นอุปสรรคต่อการท่องเที่ยว รวมถึงการสร้างความสมดุลของการพัฒนาในมิติต่างๆ ตลอดจนให้ความสำคัญกับการทำงานอย่างบูรณาการกับภาคส่วนต่างๆ ซึ่งได้กำหนดวิสัยทัศน์ทางการท่องเที่ยวของประเทศคือ “ประเทศไทยเป็นแหล่งท่องเที่ยวคุณภาพชั้นนำของโลกที่เติบโตอย่างมีดุลยภาพบนพื้นฐานความเป็นไทย เพื่อส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจสังคม และกระจายรายได้สู่ประชาชนทุกภาคส่วนอย่างยั่งยืน” โดยประกอบด้วยยุทธศาสตร์ ดังนี้
ยุทธศาสตร์ที่ 1
การพัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเที่ยว สินค้าและบริการให้เกิดความสมดุลและยั่งยืน
ยุทธศาสตร์ที่ 2
การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และสิ่งอำนวยความสะดวก เพื่อรองรับการขยายตัวของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
ยุทธศาสตร์ที่ 3
การพัฒนาบุคลากรด้านการท่องเที่ยวและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาพื้นที่
ยุทธศาสตร์ที่ 4
การสร้างความสมดุลการท่องเที่ยวไทยผ่านการตลาดเฉพาะกลุ่มการส่งเสริมวิถีไทย และการสร้างความเชื่อมั่นของนักท่องเที่ยว
ยุทธศาสตร์ที่ 5
การบูรณาการการบริหารจัดการการท่องเที่ยว และส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศ
การพัฒนาการท่องเที่ยวที่มีความเกี่ยวข้องกับกรมการท่องเที่ยวออกเป็น 5 ด้าน
การเติบโตบนพื้นฐานความเป็นไทย
โดยเน้นการพัฒนาสินค้าและบริการด้านการท่องเที่ยวและแหล่งท่องเที่ยวให้สอดคล้องกับอัตลักษณ์และวิถีไทย เสริมสร้างความเข้าใจแก่นักท่องเที่ยวและประชาชน ถึงอัตลักษณ์ความเป็นไทย สร้างความภาคภูมิใจในความเป็นไทย และการเป็นเจ้าบ้านที่ดีแก่ประชาชน
การส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และ กระจายรายได้สู่ประชาชนทุกภาคส่วน
โดยมุ่งพัฒนาการท่องเที่ยวให้เป็นแหล่งเพิ่มรายได้และกระจายรายได้ แก่ประเทศพัฒนาการท่องเที่ยวให้เป็นหนึ่งในกลไกการขับเคลื่อนการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ และสร้างโอกาสเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติ พัฒนาการท่องเที่ยวใน
ภูมิภาคและเขตพัฒนาการท่องเที่ยว โดยเฉพาะพื้นที่เมืองรองและชนบท และสนับสนุนภาคเอกชนลงทุนในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง)
การเติบโตอย่างมีดุลยภาพ
โดยส่งเสริมดุลยภาพการเติบโตของพื้นที่ท่องเที่ยวโดยเน้นการกระจายการพัฒนาการท่องเที่ยวในเมืองรองและพื้นที่ชุมชนท้องถิ่น ส่งเสริมดุลยภาพ การเติบโตระหว่างช่วงเวลาและส่งเสริมการท่องเที่ยวในรูปแบบต่างๆ ที่มีศักยภาพ
การพัฒนาอย่างยั่งยืน
ด้วยการส่งเสริมความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยการอนุรักษ์และฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวที่เสี่ยงต่อการเสื่อมโทรม การบริหารความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยว และการปลูกฝังจิตสำนึกความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมความยั่งยืนของวัฒนธรรม โดยการเชิดชูและรักษาไว้ซึ่งเอกลักษณ์ของไทยคุณค่าดั้งเดิมและภูมิปัญญาท้องถิ่น
ประเทศไทยเป็นแหล่งท่องเที่ยวคุณภาพชั้นนำของโลก
ด้วยการยกระดับคุณภาพและเพิ่มความหลากหลายของสินค้าและบริการด้านการท่องเที่ยวให้มีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับในระดับสากล มุ่งเพิ่มรายได้จากการท่องเที่ยว และเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยวของประเทศ
5.แผนวิสาหกิจการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยฉบับทบทวน
2563-2564
วัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์
เพิ่มรายได้ทางการท่องเที่ยว
ยุทธศาสตร์
เพิ่มค่าใช้จ่ายของนักท่องเที่ยวในตลาดหลัก
ขยายตลาดกลุ่มประเทศอาเซียน
ขยายตลาดใหม่
ขยายฤดูกาลท่องเที่ยว
5.พัฒนาภาพลักษณ์ของประเทศ
3.พัฒนาองค์กรสู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง
ยุทธศาสตร์
เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการองค์กร
เพิ่มผลิตภาพ ของบุคลากร
เพิ่มมูลค่าและบริหารจัดการสิ้นทรัพย์
วิจัยและพัฒนาข้อมูลการตลาดการท่องเที่ยว
ส่งเสริมการสื่อสารภายในองค์กร
สร้างความยั่งยืนทางการท่องเที่ยว
ยุทธศาสตร์
1.บริหารจัดการอย่างมีความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
บริหารความสัมพันธ์และเสริมสร้างศักยภาพเครือข่าย 3. ส่งเสริมพื้นที่ท่องเที่ยวและสร้างมูลค่าเพิ่มอย่างยั่งยืน
กระจายโอกาสในการท่องเที่ยวและส่งเสริมการเรียนรู้
แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติฉบับที่2
วิสัยทัศน์: “ประเทศไทยเป็นแหล่งทองเที่ยวคุณภาพชั้นนําของโลก ที่เติบโตอย่างมีดุลยภาพ บนพื้นฐานความเป็นไทย เพื่อส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และกระจายรายได้ประชาชน ทุกภาคส่วนอย่างยั่งยืน”
ยุทธศาสตร์การพัฒนาภายใต้แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับท่ี 2 ท่ีเกี่ยวข้องกับ ททท.ได้แก่
1.)รายได้จากนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ มีอัตราการขยายตัวไม่ต่ำกว่าร้อยละ10ต่อปี
2.)การเดินทางนักท่องเที่ยวภายในประเทศของนักท่องเที่ยวชาวไทยมีอัตราการขยายตัว ไม่ต่ำกว่าร้อยละ3ต่อปี
3.))สัดส่วนการเดินทางนักท่องเที่ยวต่างชาติในช่วงเดือนมิถุนายน-เดือนกันยายนไม่ต่ำกว่า1ใน3ของการเดินทางตลอดทั้งปี
4.)รายได้จากการท่องเที่ยวในจังหวัดรอง(จังหวัดที่มีผู้เยี่ยมเยือนต่ำกว่า
1ล้านคน)มีอัตราการขยายตัวไม่ต่ำกว่าร้ายละ12ต่อปี
5.)ดัชนีการรับรู้และเข้าใจในเอกลักษณ์ความเป็นไทยของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติและนักท่องเที่ยวชาวไทยเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี
6.)อันดับขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยว(TTCI)ของประเทศไทยด้านความเด่นชัดของวัฒนธรรมและนันทนาการจากการสืบค้น
ข้อมูลออนไลน์ด้านการท่องเที่ยว เป็น1ใน10อันดับแรกของโลก
ยุทธศาสตร์และนโยบาย ที่เกี่ยวข้องกับการดําเนินงาน
การทบทวนแผนวิสาหกิจ ททท. พ.ศ. 2562-2564 ททท. ได้ดําเนินการทบทวนทั้งปัจจัยภายใน และภายนอกที่มีผลต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยวไทย พร้อมทั้งการวิเคราะห์ปัจจัยเพื่อทบทวน สมรรถนะหลักขององค์กร รวมถึงการศึกษายุทธศาสตร์และนโยบายภาครัฐ การประชุมรับฟังความคิดเห็น จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การศึกษาวิเคราะห์จุดบอดซึ่งนําไปสู่ภาพความต้องการและความคาดหวัง ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และการวิเคราะห์การแข่งขันทางการท่องเที่ยวในระดับโลก
สร้างความหลากหลายด้านการท่องเที่ยว
ท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรม
•พัฒนาสินค้าและบริการด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นและทุนทางวัฒนธรรม
•ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมทำการตลาด
•ผลักดันประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมและศิลปะสู่ระดับสากล
•ส่งเสริมการท่องเที่ยวตามฤดูกาลและพื้นที่
•การท่องเที่ยววิถีชุมชนเชิงเกษตรเชิงอนุรักษ์และวิถีพุทธ
ท่องเที่ยวเชิงธุรกิจ
•ส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการนานาชาติของโลก
•พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานขนส่งการสื่อสารเพื่ออำนวยความสะดวก
•เชื่อมโยงเมืองหลักเพื่อประชุมกับเมืองอื่นเพื่อการพักผ่อน
ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพความงามและแพทย์แผนไทย
•ใช้ภูมิปัญญาไทยและบริการไทยระดับสากล
•เชื่อมโยงธุรกิจสุขภาพกับการท่องเที่ยวอื่น
•ผสานองค์ความรู้สมัยใหม่กับแพทย์ทางเลือก
•ส่งเสริมการตลาดการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในระดับโลก
ท่องเที่ยวสำราญทางน้ำ
•ปรับบทบาทท่าเรือให้มี ศักยภาพและ ปลอดภัย
•ส่งเสริมการเชื่อมโยงการท่องเที่ยวทางน้ำกับการเดินทางอื่น
•ใช้เทคโนโลยีการการอำนวยความสะดวกในการเดินทาง
•อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและความยั้งยืน
ท่องเที่ยวเชื่อมโยงภูมิภาค
•จัดทำเส้นทางท่องเที่ยวเมืองหลักเมืองรองและประเทศเพื่อนบ้านรงมทั้งทำการตลาดร่วมกัน
•พัฒนาแหล่งท่องเที่ยว และสิ่งอำนวยความสะดวก เพื่อรองรับการเชื่อมโยง
แผนวิสาหกิจ ททท. พ.ศ. 2560-2564 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2563-2564) ยังคงเป็นแผนยุทธศาสตร์ ท่ีมุงเน้นการขับเคลื่อนประเทศไทยไปสู่การเป็น “แหล่งท่องเที่ยวยอดนิยม โดยเน้นการนําเสนอประสบการณ์อันทรงคุณค่าด้วยวิถีการดําเนินชีวิตของคนไทย เพื่อสร้างจุดขาย ที่แตกต่างและมูลค่าเพิ่มให้กับเศรษฐกิจของประเทศ ส่งเสริมการตลาดการท่องเที่ยวบนฐาน ของความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมท้ังห่วงโซ่คุณค่าของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว อันจะนําไปสู่การท่องเที่ยวท่ียั่งยืน รวมทั้งเสริมสร้างผู้ประกอบการและแหล่งท่องเที่ยวให้ได้มาตรฐาน คํานึงถึงชุมชน และสังคมในด้านการสร้างรายได้อย่างเท่าเทียมกันทุกภาคส่วน นอกจากน้ัน พัฒนา ททท. ให้เป็นองค์กร สมรรถนะสูงเพื่อสนับสนุนการเป็นผู้นําในการส่งเสริมการท่องเท่ียวและพัฒนาองค์กรให้เจริญเติบโต อย่างยั่งยืน โดยมีการปรับวัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์และตัวชี้วัดจากแผนวิสาหกิจ ททท.
ฉบับทบทวน พ.ศ. 2562-2564 ให้สอดคล้องกับบริบทที่เปลี่ยนไป เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ “ททท. เป็นผู้นําในการส่งเสริมการท่องเที่ยวให้ประเทศไทยเป็นแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยมอย่างยั่งยืน”
7.แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ.2560-2564
เป้าหมาย
2.เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยวระดับสูงขึ้น :
ตัวชี้วัด: อันดับขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยว (TTCI) อยู่ไม่ต่ ากว่าอันดับ 34 ของโลก :confetti_ball:
1.สนับสนุนการเติบโตการท่องเที่ยว
ตัวชี้วัด: รายได้จากการท่องเที่ยวไม่ต่ำ
กว่า 2.7 ล้านล้านบาท ภายในปี 2561 :tada:
แนวทางที่ 1.1 :ส่งเสริมการท่องเที่ยวในทุกมิตพร้อมสร้างควาเชื่อมั่นให้กับนักท่องเที่ยว :check:
แนวทางที่ 2.1 :พัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเที่ยว สินค้และบริการด้านการท่องเที่ยว:check:
แนวทางที่ 2.2 :พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน :check:
แนวทางที่ 2.3:พัฒนาบุคลากรด้านการท่องเที่ยว :check:
แนวทางที่ 2.4: บูรณาการการบริหาร
จัดการด้านการท่องเที่ยว :check:
2 more items...
งบประมาณ 111.0190 ล้านบาท
งบประมาณ 1,159.6551 ล้านบาท
งบประมาณ 2,138.9445 ล้านบาท
งบประมาณ 5,003.5721 ล้านบาท
แนวทาง :question:
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงสำคัญของโลก 5 ประการ
ปัจจัยสนับสนุนการเติบโตเเละแนวโน้มด้านการเปลี่ยนแปลงเชิงพฤติกรรมของนักท่องเที่ยว
พัฒนาสินค้าและบริการทางการท่องเที่ยวที่สอดคล้องกับความต้อง
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอ่านวยความสะดวกด้านการท่องเที่ยวสอดคล้องกับความต้องการ
พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในปัจจุบันและแหล่งท่องเที่ยวรูปแบบใหม่ ๆรวมถึงจัดสรรแพ็กเกจการท่องเที่ยวที่ให้ประสบการณ์การท่องเที่ยวซึ่งสอดคล้องกับความต้องการของนักท่องเที่ยวในแต่ละกลุ่มที่แตกต่างกัน
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานส่าหรับเส้นทางคมนาคมทางอากาศ รวมถึงส่งเสริมความร่วมมือในการพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวภายใน/ระหว่างประเทศ
ลงทุนพัฒนาและส่งเสริมระบบการท่องเที่ยวผ่านช่องทางออนไลน์และสนับสนุนการลงทุนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศให้กับธุรกิจท้องถิ่น
5 ยุทธศาสตร์การพัฒนาในระยะแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเที่ยว สินค้าและบริการด้านการท่องเที่ยวให้เกิดความสมดุลและยั่งยืน
พัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเที่ยว สินค้าและบริการทุก
รูปเเบบอย่างมีมาตรฐาน
พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวสินค้าและบริการอย่างยั่งยืน
สร้างสมดุลในแหล่งท่องเที่ยวสินค้าและบริการ ทั้งในเชิงพื้นที่เชิงเวลา ฤดูกาลและรูปแบบการท่องเที่ยว
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอำนวยความสะดวก เพื่อรองรับการขยายตัวของ
อุตสาหกรรมท่องเที่ยว
1.พัฒนาระบบโลจิสติกส์ด้านการท่องเที่ยว
2.พัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวกด้านการท่องเที่ยว
3.พัฒนาระบบความปลอดภัยและสุขอนามัยในแหล่งท่องเที่ยว
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาบุคลากรด้านการท่องเที่ยว และสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการ
พัฒนาการท่องเที่ยว
พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการท่องเที่ยวทั้งระบบให้มีขีดความสามารถในการแข่งขัน สอดคล้องกับมาตรฐานสากลและเพียงพอต่อความต้องการของตลาด
ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการด้านการท่องเที่ยวและได้รับประโยชน์จากการท่องเที่ยว
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างความสมดุลให้กับการท่องเที่ยวไทย ผ่านการตลาดเฉพาะกลุ่ม การส่งเสริมวิถีไทยและการสร้างความเชื่อมั่นของนักท่องเที่ยว
เสริมสร้างภาพลักษณ์คุณภาพเเละความปลอดภัยให้กับประเทศไทย
ส่งเสริมการตลาดเฉพาะกลุ่มเพื่อดึงดูดการเดินทางท่องเที่ยว และกระตุ้นการใช้จ่ายของนักท่องเที่ยว
กลุ่มต่างๆ
ส่งเสริมเอกลักษณ์ของประเทศไทยและของแต่ละท้องถิ่น
ส่งเสริมการท่องเที่ยวภายในประเทศเเละการท่องเที่ยวที่สมดุลเชิงพื้นที่เเละเวลา
ส่งเสริมความร่วมมือกับผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องเเละการใช้เทคโนโลยีในการทำการตลาด
ยุทธศาสตร์ที่ 5 การบูรณาการการบริหารจัดการการท่องเที่ยวและการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศ
1.ส่งเสริมการกำกับดูแลการพัฒนาเเละบริหารจัดการการท่องเที่ยวอย่างมีประสิทธิภาพ
2.ปรับปรุงกฎหมายข้อบังคับเเละมาตรฐานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว และการบังคับใช้กฎหมาย
อย่างจริงจัง
สนับสนุนการลงทุนจากภาคเอกชนเเละการจัดทำศูนย์ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการท่องเที่ยว
ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยว
2.แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
องค์ประกอบของวิสัยทัศน์การท่องเที่ยวไทย
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเที่ยว สินค้า และบริการด้านการท่องเที่ยวให้ เกิดความสมดุลและยั่งยืน
แนวทางการพัฒนา
พัฒนาคุณภาพของแหล่ง ท่องเที่ยว สินค้าและบริการทุก รูปแบบอย่างมีมาตรฐาน
พัฒนาแหล่งท่องเที่ยว สินค้า และบริการอย่างยั่งยืน
สร้างสมดุลในแหล่งท่องเที่ยว สินค้าและบริการ ทั้งในเชิงพื้นที่ เชิงเวลา ฤดูกาล และรูปแบบ การท่องเที่ยว
แผนงานและโครงการสำคัญ (Quick Win)
1.พัฒนาคุณภาพสินค้าและการให้บริการแบบครบวงจรในกิจกรรมที่มีศักยภาพ
กำหนดขีดความสามารถในการรองรับแหล่งท่องเที่ยวหลัก พร้อมกำหนด มาตรการควบคุมดุแลกากับให้ชัดเจน
อนุรักษ์ ฟื้นฟู แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติและวัฒนธรรมที่มีความเปราะบางและเสี่ยงต่อความเสื่อมโทรม
สร้างการรับรู้ ความตระหนัก จิตสานึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรท่องเที่ยว วัฒนธรรมไทย อัตลักษณ์ท้องถิ่น เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
สร้างสรรค์กิจกรรมการท่องเที่ยวใหม่ๆ และมีความหลากหลายของกิจกรรม เพื่อสร้างความสมดุลเชิงเวลาและฤดูกาลการท่องเที่ยว
2.พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวและสนับสนนุภาคเอกชนลงทุนพัฒนากิจกรรมท่องเที่ยวที่มีแนวโน้มเติบโตสูง
. ส่งเสริมการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชน
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอานวยความสะดวก เพื่อรองรับ การขยายตัวของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
แนวทางการพัฒนา
พัฒนาระบบโลจิสติกส์ ด้านการท่องเที่ยว
พัฒนาสิ่งอานวยความ สะดวก
ด้านการท่องเที่ยว
พัฒนาระบบความปลอดภัย และสุขอนามัยในแหล่ง
ท่องเที่ยว
แผนงานและ โครงการสาคัญ (Quick Win)
ขยายเส้นทางการบินจากต่างประเทศสู่จังหวัดรองของประเทศ
ปรับปรุงประสิทธิภาพและอานวยความสะดวกในขั้นตอนในการคมนาคมระหว่างประเทศทางบกและทางน้า
ยกระดับคุณภาพของบริการและสิ่งอานวยความสะดวกเพื่อการเดินทางโดยระบบขนส่งสาธารณะ รวมถึง
เพิ่มความเข้มงวดในการบังคับใช้มาตรการและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง
ปรับปรุงสิ่งอานวยความสะดวกและปัจจัยสนับสนุนในการเข้าถึงและเข้าชมสถานที่ท่องเที่ยว เพื่อรองรับการท่องเที่ยว
สาหรับคนทั้งมวล (Tourism for All)
พัฒนาและปรับปรุงแอปพลิเคชั่นที่อำนวยความสะดวกให้นักท่องเที่ยว
ปรับปรุงความพร้อม ความเพียงพอ มาตรฐาน และบุคลากร เพื่อดูแลรักษาความปลอดภัย และให้ความช่วยเหลือ
นักท่องเที่ยว รวมถึงจัดทาแผนและระบบบริหารความเสี่ยง และภัยพิบัติ สาหรับแหล่งท่องเที่ยวที่สาคัญ
ส่งเสริมสุขอนามัยในแหล่งท่องเที่ยวและพัฒนามาตรฐานและระบบจัดการขยะและบาบัดน้าเสีย
การพัฒนาบุคลากรด้านการท่องเที่ยว และสนับสนุนการมีส่วนร่วมของ
ประชาชนในการพัฒนาการท่องเที่ยว
แนวทาง
การพัฒนา
พัฒนาศักยภาพบุคลากร ด้านการท่องเที่ยวทั้งระบบ ให้มีขีดความสามารถในการ แข่งขัน สอดคล้องกับ มาตรฐานสากลและเพียงพอ ต่อความต้องการของตลาด
ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วน ร่วมในการบริหารจัดการด้าน การท่องเที่ยวและได้รับ ประโยชน์จากการท่องเที่ยว
แผนงานและ โครงการสำคัญ (Quick Win)
ปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาชาติเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรและสร้างจิตส านึกประชาชนเพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยว
พัฒนาหลักสูตรอบรมทักษะพื้นฐาน ทักษะเฉพาะกลุ่มการท่องเที่ยว ทักษะด้านการบริหารจัดการ
ปรับปรุงมาตรฐานทักษะอาชีพของบุคลการในธุรกิจการท่องเที่ยวให้ครอบคลุมความต้องการของอุตสาหกรรมและ
สอดคล้องกับมาตรฐานสากล
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างความสมดุลให้กับการท่องเที่ยวไทย ผ่านการตลาดเฉพาะกลุ่ม
การส่งเสริมวิถีไทย และการสร้างความเชื่อมั่นของนักท่องเที่ยว
แนวทางการพัฒนา
เสริมสร้างภาพลักษณ์คุณภาพและความปลอดภัยให้กับประเทศไทย
ส่งเสริมการตลาดเฉพาะกลุ่มเพื่อดึงดูดการเดินทางท่องเที่ยวและกระตุ้นการใช้จ่ายของนักท่องเที่ยวกลุ่มต่างๆ
ส่งเสริมเอกลักษณ์ของประเทศไทยและของแต่ละท้องถิ่น
ส่งเสริมการท่องเที่ยวภายในประเทศและการท่องเที่ยวที่สมดุลเชิงพื้นที่และเวลา
ส่งเสริมความร่วมมือกับผู้ที่มส่วนเกี่ยวข้องเเละการใช้เทคโนโลยีในการส่งเสริมการตลาด
แผนงานและโครงการส าคัญ
(Quick Win)
สร้างการรับรู้ แนวทางปฏิบัติ เพื่อความปลอดภัย ส่งเสริมการบังคับใช้และให้ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายด้านความปลอดภัยแก่นักท่องเที่ยว
ส่งเสริมภาพลักษณ์ประเทศไทยให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวคุณภาพและมีมาตรฐานด้านความปลอดภัย
สร้างการรับรู้สินค้า บริการเฉพาะต่างๆ ในประเทศไทย กลุ่มที่มีความสนใจพิเศษผ่านช่องทางต่างๆ รวมถึงการสร้างแบรนด์ประเทศไทยให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวคุณภาพ
ส่งเสริมชุมชนสร้างสรรค์สินค้าและบริการ สะท้อนอัตลักษณ์ชุมชนและแบรนด์จังหวัด
สื่อสารเอกลักษณ์ความเป็นไทยให้เป็นที่เข้าใจในเวทีโลก และพัฒนาสัญลักษณ์ Thainess
สร้างการรับรู้สินค้าและบริการด้านการท่องเที่ยวส าหรับการท่องเที่ยวนอกฤดูกาล
การสร้างค่านิยมการเดินทางท่องเที่ยวในประเทศให้แก่คนไทยทุกคนในทุกเพศทุกวัย
สนับสนุนการใช้เทคโนโลยีในการท าตลาดผ่านช่องทางสารสนเทศต่างๆ
5 การบูรณาการการบริหารจัดการการท่องเที่ยว และการส่งเสริมความร่วมมือ
ระหว่างประเทศ
แผนงานและ โครงการสำคัญ (Quick Win)
ส่งเสริมกระบวนการทำงานอย่างบูรณการภายใต้คณะกรรมการททช.
ส่งเสริมการกระจายอำนาจสู่หน่วยงานระดับท้องถิ่น ทั้งในการขับเคลื่อนแผนและการปฎิบัติการ การท่องเที่ยวโดยชุมชน (CBT)
ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องในการบังคับใช้กฎหมาย
จัดตั้งศูนย์ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการท่องเที่ยว
แนวทาง
การพัฒนา
1.ส่งเสริมการกำกับดูแลการพัฒนา เเละ บริหารจัดการการท่องเที่ยวอย่างมีประสิทธิภาพ
2.ปรับปรุงกฎหมายข้อบังคับเเละมาตรฐานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว และการบังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจัง
3.สนับสนุนการลงทุนจากภาคเอกชนเเละการจัดทำศูนย์ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการท่องเที่ยว
4.ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนาการ
แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2560 – 2564)
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา