Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Head injury, คณะพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลัยปทุมธานี - Coggle…
Head injury
พยาธิสภาพ
จากการบาดเจ็บที่ศีรษะอาจเกิดขึ้นจากการมีแรงกระแทกที่ศีรษะทันทีหรือเป็นภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นตามมาภายหลัง เช่น ภาวะสมองบวม ภาวะความดันในสมองสูง การมีเลือดออกในสมอง เป็นต้น การบาดเจ็บจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับความแรงที่มากระแทกศีรษะ ตำแหน่งที่ถูกกระแทกขนาดและชนิดของแรงที่มากระแทก หากมีแรงเคลื่อนมากระทบศีรษะที่อยู่นิ่ง จะทำให้สมองบาดเจ็บเฉพาะที่ แต่ถ้าแรงนั้นมากระทบศีรษะที่อยู่นิ่ง แล้วศีรษะเคลื่อนไปกระทบกับวัตถุอื่นจะทำให้เกิดการบาดเจ็บทั้งที่สมองเฉพาะที่และที่สมองทั่วไปด้วย
-
ภาวะแทรกซ้อน
คือ อาการหรือโรคที่เกิดจากภาวะที่ร่างกายผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะมีการตอบสนองทางสรีรวิทยา มีผลทำให้มีการเปลี่ยนแปลงทางพยาธิสภาพของระบบต่างๆ ซึ่งเป็นภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นขณะที่ผู้ป่วยเข้ารับการรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาล แบ่งเป็น 2 ระยะ
-
-
การวินิจฉัย
1. การซักประวัติ ซักประวัติจากผู้ป่วย ญาติ หรือผู้เห็นเหตุการณ์เกี่ยวกับสาเหตุ ลักษณะการบาดเจ็บ การหมดสติ ลำดับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น อาการอื่นๆเช่น การชาของแขนขา ปวดศีรษะ อาเจียน ตาพร่ามัว และการบาดเจ็บของอวัยวะอื่นร่วมด้วย
2. การตรวจร่างกายทั่วไปและการตรวจทางระบบประสาท เช่น การตรวจประสาทสมอง การ
เคลื่อนไหว ระบบรับความรู้สึก ประกอบด้วย
2.1. การลืมตา (E- cyc opening) เพื่อดูกลไกการทำงานของศูนย์ควบคุมความรู้สึกตัวว่ามีการเสียหน้าที่จากพยาธิสภาพของสมองหรือไม่ โดยแบ่งเป็น 4 ระดับ ดังนี้
-
-
-
-
-
-
2.4 การเปลี่ยนแปลงของรูม่านตาในผู้ป่วยทางระบบประสาทสามารถบอกถึงอาการของผู้ป่วยซึ่ง ช่วยให้พยาบาลที่เฝ้าระวังติดตามสามารถเตรียมพร้อมในการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยได้ทันท่วงที
-
การวางแผนจำหน่าย
วิเคราะห์เคส
1. D : Diagnosis= ให้ความรู้เกี่ยวกับอาการบาดเจ็บที่ศรีษะเป็นการบาดเจ็บที่เกิดจากแรงที่เข้ามากระทบต่อศีรษะและร่างกายแล้วทำให้เกิดความบาดเจ็บต่อหนังศีรษะ กะโหลกศีรษะ สมองและเส้นประสาทสมองและให้เเนะนำการปฏิบัติตัว การดูเเลรักษาแผล เพื่อป้องกันการบาดเจ็บ
2. M : Medication= แนะนำการใช้ยาที่ตนเองได้รับอย่างละเอียด ผู้ป่วยได้รับยา dopamine เป็นยาที่ใช้ในเพื่อรักษาอาการช็อก หลังให้ต้องติดตามปฏิกิริยาของร่างกายอย่างใกล้ชิด เพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วย หลังกลับบ้านรับประทานยาให้ครบตามแพทย์สั่ง โดยครบตามจำนวนและเวลาที่กำหนด
3.E : Environment= ให้ข้อมูลผู้ดูแลเรื่องการเตรียมผู้ป่วยก่อนกลับบ้านเช่นการ เตรียมสถานที่บ้าน อุปกรณ์ที่จำเป็นต้องใช้กับผู้ป่วย ประเมินเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและเศรษฐกิจ สภาพบ้านที่ผู้ป่วยต้องกลับไปพักหลังจำหน่าย รวมทั้งคำแนะนำเกี่ยวกับการจัดสิ่งแวดล้อมให้ เหมาะสม เช่น ห้องนอน ห้องน้ำ เป็นต้น
5. H : Health การรักษาความสะอาดร่างกาย เนื่องจากผู้ป่วยมีบาดแผลตามร่างกายหลายตำแหน่ง เมื่อกลับอาจมีบางตำแหน่งที่แพทย์อาจมีข้อจำกัดในการปฏิบัติตัว เช่น ห้ามให้แผลเปียกน้ำ ห้ามแคะ แกะ เกา เป็นต้น
4.T : Treatment การดูแลแผล โดยมาตรวจหลังกลับบ้านเพื่อประเมินผลและตัดไหมตามแพทย์นัด อาการผิดปกติ ที่ผู้ป่วยต้องสังเกต เช่น มีไข้สูง มีเลือดออกจากแผลทุก 5 นาที หรือปวดศีรษะมาก ต้องรีบมาพบแพทย์
6. O : Outpatient & Referral เน้นการมาตรวจตามนัดภายหลังกลับบ้าน และการตัดไหมเมื่อครบ 7 วัน อาการผิดปกติต้องรีบมาพบแพทย์ก่อนวันนัด เช่น มีไข้สูง มีเลือดสดๆ ออกจากแผลเย็บ หรือปวดศีรษะมาก เป็นต้น
7. D : Diet อาหารที่ควรรับประทาน เช่น เนื้อสัตว์ นมไข่ เป็นต้น นอกจากนี้ควรดื่มน้ำอย่างน้อยวันละ1 ลิตร
-
ปัญหาสุขภาพ
ข้อวินิจฉัยข้อที่ 1
เสี่ยงต่อ การเสียชีวิตเนื่องจากมีภาวะช็อกจากการเสียเลือด และได้รับอุบัติเหตุทางสมอง
1) ประเมินสภาพผู้ป่วย ทุก 5 นาที วัด สัญญาณชีพ ประเมิน Gas glow coma scale ตรวจดู รูม่านตา ถ้าพบว่าชีพจรเบาเร็ว ความดันโลหิตลดลง กว่าเดิม รีบรายงานแพทย์
-
3) หลังช่วยแพทย์ใส่ท่อหลอดลมคอ จัด ระบบทางเดินหายใจให้โล่ง Hole Ambu bag ต่อ 10 ลิตร/นาที และสังเกตการหายใจต่อเนื่อง
-
-
-
-
-
-
-
-
การรักษา
1.O2 mask with bag 10 LPM ใส่ท่อช่วยหายใจ ขนาด 22 ลึก 7.5 ซม. มีการดูแลให้ทางเดินหายใจโล่ง ขณะ ดูดเสมหะได้น้ําลายปนเลือดประมาณ 50 cc. ทํา ความสะอาดผิวหนังรอบๆ แผลทุกจุด
-
3.0.9 NaCl v loading 2,000 cc. ที่ แขนซ้าย
4.on 0.9% NaCl 1,000 ml v 100 ml/hr และ dopamine (2:1)+NSS 100 cc. v 9 µd ที่ แขนขวา
-
-
-