Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 แนวทางการดำเนินงานอาชีวอนามัย, นางสาวปาริฉัตร กลับกลาง 621201136 -…
บทที่ 5 แนวทางการดำเนินงานอาชีวอนามัย
องค์การอนามัยโลกและองค์กรแรงงานระหว่างประเทศ ได้ร่วมกันให้คำจำกัดความคำว่า
อาชีวอนามัย
หมายถึง สุขภาพอนามัยของผู้ประกอบอาชีพทุกภาคส่วนของประเทศ ควรจะมีสภาวะที่สมบูรณ์ดีทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สัมพันธภาพ และสถานภาพในสังคม
ความสำคัญของงานอาชีวอนามัย
การบริการอาชีวอนามัย คือ งานอาชีวอนามัยที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมและการธำรงรักษาไว้ซึ่ง
สุขภาพอนามัยที่แข็งแรง สมบูรณ์ ปลอดภัย ของผู้ประกอบอาชีพ ไม่มี โรคภัยไข้เจ็บ รวมทั้งอุบัติเหตุ หรือความเสี่ยงในการเกิดอันตรายจากการปฏิบัติงาน
วัตถุประสงค์
เพื่อปูองกันอันตรายที่อาจบั่นทอนสุขภาพอนามัยและความปลอดภัย
เพื่อดำเนินการจัดคนงานให้ทำงานได้เหมาะสมกับความสามารถทั้งทางด้าน ร่างกาย จิตใจ อารมณ์
เพื่อจัดให้มีการรักษาพยาบาล และฟื้นฟูสมรรถภาพจากการบาดเจ็บ และความเจ็บปุวย
เพื่อช่วยเหลือและกระตุ้นให้มีมาตรการในการธำรงไว้ซึ่งสุขภาพอนามัยส่วนบุคคล
ขอบเขตของงานอาชีวอนามัย
การส่งเสริมและธำรงรักษาไว้
การป้องกัน
การคุ้มครองคนงาน
จัดคนงานให้ได้ทำงานในลักษณะงาน สิ่งแวดล้อมการทำงานที่เหมาะสม
มีการจัดปรับงานให้เข้ากับคนและจัดปรับคนให้เข้ากับงาน
แนวทางการดำเนินงานอาชีวอนามัย
การป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ
การรักษาพยาบาลและการส่งต่อ
ฟื้นฟูสภาพ
ตรวจพิเศษด้านอาชีวเวชศาสตร์
การบันทึกระเบียนรายงาน
แนวทางปฏิบัติงานบริการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในโรงพยาบาล
การเฝ้าระวังสิ่งคุกคาม (Hazard surveillance)
การเฝ้าระวังทางสุขภาพ (Health surveillance)
อันตรายจากสภาพแวดล้อมในการทำงานและการควบคุม
อันตรายจากสภาพแวดล้อมทางเคมี
อันตรายจากสภาพแวดล้อมทางกายภาพ
อันตรายจากสภาพแวดล้อมทางชีวภาพ
อันตรายจากสภาพแวดล้อมทางด้านการยศาสตร์
การเกิดอุบัติเหตุเนื่องจากการทำงาน
หมายถึง ภัยและความเสียหายอันเนื่องมาจากเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิดมาก่อน
สาเหตุ
สาเหตุจากการปฏิบัติงานที่ไม่ปลอดภัย
สภาพการทำงานที่ไม่ปลอดภัย
ปัญหาการประสบอันตราย
ตัวบุคคล คือ ผู้ประกอบการลูกจ้างและบุคคลอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
สิ่งแวดล้อม คือ ตัวองค์กรหรือสถานประกอบการ สภาพของการทำงานที่มีองค์ประกอบต่างๆ
อุปกรณ์ เครื่องจักร เครื่องมือ คือ วัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงาน
แนวทางการป้องกันการประสบอันตราย
การกำหนดมาตรการความปลอดภัย
การตรวจความปลอดภัย
กฎหมายความปลอดภัย
การศึกษาวิจัยความปลอดภัย
ด้านการศึกษา สถาบันการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยในการทำงาน
การฝึกอบรมด้านความปลอดภัย
การสร้างเสริมทัศนคติด้านความปลอดภัย
การกำหนดมาตรการความปลอดภัยในสถานประกอบการ
การปรับปรุงสภาพการทำงานและสิ่งแวดล้อมในการทำงาน
การประกันการประสบอุบัติเหตุ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีวอนามัย
ตัวอย่างเช่น
พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเติมโดย
พระราชบัญญัติเงินทดแทน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561
พระราชบัญญัติประกันสังคม (ฉบับที่ 4( พ.ศ. 2558
พระราชบัญญัติ คุ้มครองแรงงาน พ .ศ .2541 แก้ไขเพิ่มเติมโดย พระราชบัญญัติ คุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562
บทบาทและหน้าที่ของพยาบาลอาชีวอนามัย
บทบาทหน้าที่ของพยาบาลอาชีวอนามัยในปัจจุบัน
มีดังนี้
การบริหารจัดการผู้เจ็บป่วยรายกรณี
การให้คำปรึกษาหารือ และการจัดการดูแลในภาวะวิกฤติ
การส่งเสริมสุขภาพและลดความเสี่ยง
การปฏิบัติตามข้อกาหนดกฎหมาย
การปกป้องจากสิ่งก่ออันตรายในสถานประกอบการของผู้ใช้แรงงาน
นางสาวปาริฉัตร กลับกลาง 621201136