Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยงและปัญหาสุขภาพ, นางสาวณัฐพร คำแก้ว…
การพยาบาลมารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยงและปัญหาสุขภาพ
Birth asphyxia
มี Apgar score น้อยกว่า 7 คะแนนในนาทีที่ 1
ประกอบด้วย
Hypoxemia
Metabolic acidosis
Hypercapnia
Pulmonary perfusion
ความรุนแรง
7-10 score
Normal
4-6 score
Moderate
0-3 score
Severe
การดูแลตาม APGAR
5-6
ขาดออกซิเจนเล็กน้อย
ห่อตัวให้อุ่น ทำทางเดินหายใจให้โล่ง กระตุ้นให้ร้อง ให้ออกซิเจนหน้ากาก
3-4
ขาดออกซิเจนปานกลาง
ห่อตัวให้อุ่น ทำทางเดินหายใจให้โล่ง กระตุ้นให้ร้อง ให้ออกซิเจนทาง ambu bag
7-10
ไม่มีภาวะขาดออกซิเจน
ห่อตัวให้อุ่น ทำทางเดินหายใจให้โล่ง กระตุ้นให้ร้อง
0-2
ขาดออกซิเจนรุนแรง
ห่อตัวให้อุ่น ทำทางเดินหายใจให้โล่ง กระตุ้นให้ร้อง ให้ออกซิเจนทาง ambu bag ร่วมกับนวดหัวใจ หากไม่ดีใส่ ETT ให้ยากระตุ้นหัวใจ
ขนาดหน้ากากที่เหมาะสม
ครอบคางปากจมูก ไม่กดตา แนบสนิทกับหน้า
Ventilation
Positive pressure ventilation (PPV)
สังเกต
ทรวงอกทารกขยายดี
เพิ่ม 30-40 cm H2O คลอดก่อนกำหนด ไม่มี spotaneous ventiration
ข้อปฏิบัติ
เลือกขนาด face mask ให้พอดี
ช่วยหายใจ40-60 ครั้ง/นาที ทำประมาน 30 วินาที ประเมินซ้ำ 1,2 บีบ
ติดตามภาวะออกซิเจนในเลือด ด้วย pulse oximeter
term babies ควรเริ่ม resuscitation ด้วย room air
preterm GA < 32 weeks ควรใช้ blended oxygen
หากทารกอาการไม่ดีขึ้น
Mask adjustment
วางหน้ากากให้แนบสนิทกับหน้าทารก
open mouth
เปิดปากทารกเล็กน้อยขณะบีบ bag
suction mouth and nose
ดูดเสมหะในปากและจมูก
pressure increase
เพิ่มแรงดันบวกขึ้น
reposition airway
ดท่าศีรษะทารกใหม่
airway alternation
พิจารณาใส่ท่อช่วยหายใจ
Chest compression
นวดหัวใจ chest compressionต่อ PPV เป็น 3:1
โดยใน 1 นาที จะมีการนวดหัวใจทั้งหมด 90 ครั้ง และการช่วย
หายใจทั้งหมด 30 ครั้ง
ตำแหน่งการนวดหัวใจ
ส่วนล่าง 1/3 ของกระดูกหน้าอก
กดลึกประมาณ 1/3 ของความหนาทรวงอก
นวดหัวใจ 45-60 วินาทีประเมินซ้ำ
Endotracheal tube placement
ใส่ท่อช่วยหายใจ
มีภาวะะ non-vigorous meconium stained mniotic fluid
ช่วยหายใจในระยะเวลานาน
เริ่มนวดหัวใจ
Bw < 1,000g
Medication
HR< 60 bqm
despite adequate vehtilation 100% ovygen + นวดหัวใจ
Epinephrine
ช่วยหายใจ แรงดันบวก 30 scc , ช่วยหายใจแรงดันปวก 30 scc + กดหน้าอก 30 Sec HR < 6o ครั้ง/นาที
ข้อแนะนำ
1:10,000(0.1mg/ml)
ปริมาณยา Umbllical vein ET tube
ขนาด 0.1-0.3 mg/ky iv ET tube 0.5-1 ml/kg
ความเร็ว ให้เร็วที่สุด
Birth injury
ปัจจัยเสริม
ทารก
ทารกตัวโต น้ำหนักน้อย ท่าผิดปกติ
ผู้ทำคลอด
ขาดความชำนาญ เอาใจใส่
มารดา
ครรภ์แรก CPD Prolonged labour
เครื่องมือช่วยคลอด
เครื่องมือทำคลอดไม่ดี ใช้การ F/E V/E หรือ Breech extraction
Caput succedaneum
การบวมน้ำใต้หนังศีรษะ การบวมจะข้ามsuture ของกะโหลกศีรษะ คลำขอบเขตไม่ชัดเจน พบทันทีหลังคลอด
ก้อนจะค่อยๆเล็กลงและหายไปภายใน 36 ชั่วโมง หรือ 2-3 วัน
ประวัติการคลอดล่าช้า คลอดยาก ส8วนนำถูกกดอยู8นาน เช่น ท่า OPP การทำ V/E
การพยาบาล
สังเกตลักษณะ ขนาด การเปลี่ยนแปลง
สังเกตการเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาท
อธิบายให้มารดาและญาติเข้าใจ
Cephal hematoma
มีเลือดออกใต้เยื่อหุ่มกระดูกกะโหลกศีรษะ พบก่อนนูนหลัง 24 ชั่วโมง ก่อนไม่ข้าม suture ขอบเขตชัดเจน รักษาตาม ความรุนแรง
พบในทารกที่มีประวัติ CPD, precipitate labour, V/E, F/E คลอดท่าก้นบางราย
การพยาบาล
สังเกตลักษณะ ขนาด การเปลี่ยนแปลง เกี่ยวกับภาวะเลือดในสมอง กะโหลกร้าว
ให้ทารกนอนตะแคงข้างที่ไม่มีก้อน
สังเกตภาวะซีด
อธิบายให้มารดาและญาติ และไม่ให้ใช้ยานวด ประคบ เจาะเลือดออก
Intracranial hemorrhage
เลือดออกชั่นสมอง
Epidural hemorrhage
Intraventricular hemorrhage
Subarachnoid hemorrhage
Intraparenchymal hemorrhage
Subdural hemorrhage
Intracerebral hemorrhage
พบใน ทารกท่า OPP หน0า ก0น ภาวะ CPD, V/E, F/E, prolong labour, precipitate labour
อาการ
อาจปรากฏอาการทันที หรือค่อยๆปรากฏ
ไม่มี Moro reflex
กำลังกล้ามเนื้อไม0ดี อ่อนแรง ซีด หรือเขียว ซึม ดูดนมไม่ดี ร้องเสียงแหลม หายใจผิดปกติ กระหม่อมโป่งตึง
การพยาบาล
ให้ทารกอยู่ใน incubator ที่ควบคุมอุณหภูมิ
V/S ความถี่ตามระดับความรุนแรงของอาการ
ให้นม/น้ำอย่างเพียงพอ
รบกวนทารกให้น้อยที่สุด
สังเกตอาการของความดันในกะโหลกเพิ่มขึ้น: เสียงร้อง กระสับกระส่าย การเคลื่อนไหว และการชัก
อธิบายมารดา บิดา
Peripheral nerve injury
Brachial plexus palsy
Erb-Duchenne
C5-6
อัมพาตของกล้ามเนื้อแขนช่วงบน แขนจะเคลื่อนไหวไม่ได้ ต้นแขนตกหันเข้าในหัวไหล8หมุนเข้าข้างใน
Moro’s Reflex ได้ผลลบ
Klumpke
C7-8,T1
อัมพาตของกล้ามเนื้อแขนช่วงมือ
Grasp’s Reflex ได้ผลลบ
มักเกิดจากการทำคลอดศีรษะในทารกท่าก้นการคลอดไหล่ยาก
การดูแลมุ่งเน้นที่การป้องกันภาวะข้อยึดติด
การจัดท่าจัดให้อยู่ในท่าตรงข้ามกับความผิดรูป
ออกกำลังเพื่อเพิ่มความแข็งแรงและความทนทานของกล้ามเนื้อ
การช่วยบริหารเพื่อคงพิสัยของข้อ
Facial /bell palsy
เส้นประสาทสมองคู่ที่ 7
สาเหตุมักเกิดจากการใส่คีมช่วยคลอด
ทารกจะมีหนังตาตก มุมปากเบี้ยว
ควรแนะนำมารดาให้นมช้าๆ ปñดตาทารกด้วย eye pad ข้างที่ตาปิดไม่สนิท
Fracture clavicle
อาการ
ไม่ขยับแขนข้างที่กระดูกหัก
คลำได้เสียงกรอบแกรบ
Moro reflex ไม่พบข้างที่กระดูกหัก
กล้ามเนื้อ Sternomastoid จะตึง ยกตัวขึ้น
การพยาบาล
จัดแขน/ไหล่ข้างที่กระดูกหักให้อยู่นิ่ง
ให้ rest เพียงพอ ไม่กระตุ้น activity มาก
สังเกตอาการข้างเคียง Vital signs
การคลอดไหล่ยากในท่าศีรษะ คลอดท่าก้นที่ ทารกแขนเหยียด ทารกตัวโต
Fracture humerus
อาการ
ทารกไม่งอแขน ไม่เคลื่อนไหวแขนที่หัก
คลำได้เสียงกรอบแกรบ แขนบวม
เมื่อจับแขนที่หักขยับทารกจะร้องไห้
คลอดท่าก้น แขนเหยียด คลอดไหล่ยากในการคลอดท่าศีรษะ
การพยาบาล
ตรึงแขนโดยใช้ผ้าพันแขนให้แนบติดลำตัว ไม่ให้เคลื่อนไหว 1-2 wk
นรายกระดูกหัก Adhesive Plaster Strap พันยึดติดกับลําตัวไว้
Meconium aspiration syndrome
เกิดจากทารกหายใจเอาขี้เทาเข้าใไปในขณะอยู่ในครรภ์ ทารกจะขับถ่าย Meconium เมือ Post term
ปัจจัย
เลือดเลี้ยงรกไม่เพียงพอ
มารดามีภาวะความดันโลหิตสูง
เลือดไหลไม่ดี
มีการติดเชื้อที่ถุงน้ำคร่ำ
มีภาวะน้ำคร่ำน้อย
ประวัติ
อายุ
มารดาเคยมีประวัติเคยติดเชื้อทางอวัยวะเพศ
เลือดไปเลี้ยงรกไม่ดี
ครรภ์เป็นพิษ
ความดันโลหิตสูง
ปอดติดเชื่อ
การวินิจฉัย
อาการ
หายใจเร็ว ปีกจมูกบาน หายใจออกมีเสียง grunting หน้าอกบุ๋ม เขียว ซีด มีขี้เทาเกาะที่สายสะดือเล็บ ดูดมูกที่ปากจมูกได้ขี้เทา
X-ray มีน้ำมีของเหลวคั่งที่ปอด
การป้องกัน
ไม่ดูดเสมหะตอนคลอดศรีษะเพราะจะทำให้สำลักได้
ดูดขี้เทาออกทาง Endotracheal tube โดยต่อกับ meconium
aspirator ก่อนกระตุ้นให้ร้อง ถ้าทารก APGAR ดีไม่ต้องทำ
ให้ออกซิเจนในผู้คลอด variable deceleration
ประเมิน variable deceleration เสียงหัวใจทารก
การรักษา
แบบประคับประคอง
ให้ออกซิเจน
ควบคุมอุณภูมิกาย
ให้สารน้ำเพียงพอ
ให้ยาปฏิชีวนะ ในรายที่ผลเพาะเชื้อ +ve
สังเกตุอาการอย่างใกล้ชิด
ทารกที่มีน้ำหนังตัวผิดปกติ
ทารกที่มีน้ำหนักแรกคลอดต่ำกว่า 2,500 กรัม อาจเป็นทารกครบกำหนดหรือ ก่อนกำหนด
ปัญหาที่พบบ่อย
Hypothermia: BT<36.5 องศา
Respiratory distress syndrome
Apnea หยุดหายใจนาน > 20 นาที หรือ < 20 นาที มีอาการเขียว หัวใจเต้นช้า
Jaundice
Intraventicular hemorrhage
Necrotizing enterocolitis
Infection
Hypoglycemia
การดูแลHypoglycemia
blood glucose 40 mg/dl
ให้ feed นม ประเมินทุก 30 นาที ถ้าน้ำตาลต่ำอยู่ให้ glucose แล้วประเมินทุก 30 นาที
ทารกแรกเกิดที่เกิดจากมารดาติดสารเสพติด
ผลกระทบ
ทารกเจริญเติบโตช้า
น้ำหนักแรกคลอดต่ำ
ทารกพิการแต่กำเนิด
ทารกแรกคลอดมีอาการของการขาดยา
ทารกติดเชื้อในครรภ์ หรือติดเชื้อตั้งแต่กำเนิด
โอกาสเกิด sudden infant death syndrome (SIDS) สูง
ทารกเสียชีวิตในครรภ์
เฮโรอีน
ทำให้ทารกการเจริญเติบโตล่าช้าทุกด้าน
โมเลกุลของสารเสพติดจะซึมผ่านรกไปสู่ทารก
สารเสพติดที่มีอยู่ในกระแสโลหิตก็จะถูกขับออกทางไตและถูกเผาผลาญหมดไปภายใน 48–72 ชั่วโมง ทารกแรกเกิด มีอาการถอนยา
สุรา
เกณฑ์ในการวินิจฉัย FAS ต้องมีความผิดปกติอย่างน้อย 1 อย่าง
Fetal alcohol syndrome
ศีรษะใบหน้าทารกผิดปกติ ปากบนบาง ร่องปากเรียบ หน้าตาบวม ช่องตาสั้น สมองพัฒนาการช้า น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์
บุหรี่
Carbon monoxide (CO) ทำให้เนื้อเยื่อขาดออกซิเจนเรื้อรัง
Nicotine ทำให้มารดาหลั่ง catecholamine มากขึ้น ทำให้หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตสูง
ทำให้เกิด
รกลอกตัวก่อนกำหนด
รกเกาะต่ำ
ถุงงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
การเสียชีวิตและบาดเจ็บในช่วงปริกำเนิด
Sudden infant death syndrome
แอมเฟตามีนและอนุพันธ์
ยาไอซi สปีด ยาอี
ผลต่อทารก
น้ำหนักแรกเกิดน้อย
ภาวะเลือดออกในสมอง
มีความผิดปกติของหัวใจแต่กำเนิด
ภาวะสมองตาย
ทำให้มีการทำลายเซลลiประสาท มีผลต่อสมาธิ ความจำ
ทารกแรกเกิดติดเชื้อ
Ophthalmia neonatorum
ป#นการอักเสบของเยื่อบุตาในทารกแรกเกิดจนถึงอายุ 1 เดือน
สาเหตุ
เชื้อหนองใน
ระยะก่อโรค 2-7
อาการ
หนังตาบวมมาก ขี้ตาเป็นหนอง เหลือง
เยื่อบุตาบวมแดง
การรักษา
Ceftriaxone 25-50 mg/kg/dose ครั้งเดียว
ล้างตาด้วยน้ำเกลือบ่อยๆ จนกว่าจะไม่มีหนอง
เพาะเชื้อจากหนอง เลือด น้ำไขสันหลัง
เชื้อแบคทีเรียอื่นๆ
ระยะก่อโรค 5-14
อาการ
หนังตาบวม เยื่อบุตาบวม ขี้ตามากหรือน้อยก็ได
การรักษา
Gentamycin, sulfacetamide, polymyccin B
เชื้อChlamydia
ระยะก่อโรค 5-14
อาการ
หนังตาบวม ขี้ตาเป็นหนอง เหลือง
ภาวะแทรกซ้อน
เช่น ปอดอักเสบหูน้ำหนวก
การรักษา
Erythromycin 50 mg/kg/day
เช็ดตาด้วยน้ำเกลือ หรือน้ำต้มสุก
เชื้อherpes
ระยะก่อโรค 6-14
อาการ
Vesicle ที่หนังตา อาจมี optic atrophy
การรักษา
Acyclovir 60 mg/kg/day แบ่งให้3 เวลา นาน 14 วัน
สารเคมี
ระยะก่อโรค 1
อาการ
แบบไม่มีหนอง เปลือกตาบวม
เล็กน้อย อาจมีรอยไหม้
การรักษา
เช็ดตาด้วยน้ำเกลือ หรือน้ำต้มสุก
Omphalitis ภาวะสะสืออักเสบ
สาเหตุ
การดูแลสายสะดือไม่ดี
เชื้อS. aureus, E. coli, K. pneumoniae,group B Streptococcus
อาการ
โคนสะดือบวม แดง ร้อน อาจมีหนองจากโคนสะดือ
การรักษา
ลำลีชุบยาฆ่าเชื้อทำความสะอาดสะดือ วันละ 2-3 ครั้ง
ดูแลสะดือให้แห้ง ไม่ใช้แป้งโรยสะดือ
ถ้ามีอาการ ไข้ ซึม ดูดนมไม่ได้ รักษาโดยใช้ยาปฏิชีวนะ
นางสาวณัฐพร คำแก้ว เลขที่ 17 รหัส 61128301018