Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 แนวทางการดำเนินงานอาชีวอนามัย, นางสาวสิรินทรา ปะระทัง 621201167 -…
บทที่ 5 แนวทางการดำเนินงานอาชีวอนามัย
ความหมาย และความสำคัญของงานอาชีวอนามัย
ควายหมาย สุขภาพอนามัยของผู้ประกอบอาชีพทุกภาคส่วนของประเทศ
ความสำคัญ งานอาชีวอนามัยที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมและการ ธำรงรักษาไว้ซึ่งสุขภาพอนามัยที่แข็งแรง สมบูรณ์ ปลอดภัย ของผู้ประกอบอาชีพ ไม่มี โรคภัยไข้เจ็บ รวมทั้งอุบัติเหตุ
ขอบเขตของงานอาชีวอนามัย
1.การป้องกันและควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพ
การป้องกันแบบปฐมภูมิ (Primary Prevention) การสร้างเสริมสุขภาพ การฉีดวัคซีนป้องกัน
การป้องกันแบบทุติยภูมิ (Secondary Prevention) โดยการตรวจร่างกายคัดกรอง เพื่อเฝ้าระวังโรคและสุขภาพ
การป้องกันแบบตติยภูมิ (Tertiary Prevention) ได้แก่ การรักษาพยาบาล เมื่อเกิดการเจ็บป่วยและป้องกัน
2.การป้องกันและควบคุมอุบัติเหตุจากการประกอบอาชีพ
การบาดเจ็บ พิการ และเสียชีวิต
3.การป้องกันและควบคุมมลพิษในสิ่งแวดล้อม
การป้องกันและควบคุมสิ่งคุกคามใหม่
การป้องกันและควบคุมสิ่งที่ทราบอยู่แล้ว
การป้องกันและควบคุมการได้รับสัมผัส
แนวทางการการดำเนินงานอาชีวอนามัย
1.การป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ
2.การรักษาพยาบาลและการส่งต่อ
3.ฟื้นฟูสภาพ
4.ตรวจพิเศษด้านอาชีวเวชศาสตร์
5.การบันทึกระเบียนรายงาน
แนวทางปฏิบัติงานบริการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในโรงพยาบาล
1) การเฝ้าระวังสิ่งคุกคาม (Hazard surveillance)
2) การเฝ้าระวังทางสุขภาพ (Health surveillance)
อันตรายจากสภาพแวดล้อมในการทำงานและการควบคุม
อันตรายจากสภาพแวดล้อมทางเคมี
อันตรายจากสภาพแวดล้อมทางกายภาพ
อันตรายจากสภาพแวดล้อมทางชีวภาพ
อันตรายจากสิ่งแวดล้อมทางจิตวิทยาสังคม
อันตรายจากสภาพแวดล้อมทางด้านการยศาสตร์
การเกิดอุบัติเหตุเนื่องจากการทำงาน
หลักการป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ
การควบคุมและป้องกันที่สิ่งแวดล้อม
การควบคุมป้องกันด้านตัวบุคคล
การบริหารจัดการ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีวอนามัย
พระราชบัญญัติ คุ้มครองแรงงาน พ .ศ .2541 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ คุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562
พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเติมโดย
พระราชบัญญัติเงินทดแทน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561
พระราชบัญญัติประกันสังคม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558
พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 แก้ไขโดย พระราชบัญญัติโรงงาน (3 ฉบับที่) พ .ศ.2562
พระราชบัญญัติ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2554
ระเบียบกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ว่าด้วยพนักงานกองทุนเพื่อผู้ใช้แรงงาน พ.ศ. 2553
เงินทดแทน คือค่าทดแทนค่ารักษาพยาบาลและค่าทำศพเมื่อลูกจ้างประสบอันตรายหรือเจ็บปุวยหรือตายเนื่องจากการทำงาน
ค่ารักษาพยาบาลตามที่จ่ายจริงไม่เกิน 30,000 บาท
ค่าทดแทนการขาดรายได้กรณีหยุดพักรักษาตัวเกิน 3 วันขึ้นไป ร้อยละ 60 ของค่าจ้างรายเดือนเป็นเวลาไม่เกิน 1 ปี
ค่าทดแทนการสูญเสียอวัยวะหรือสูญเสียสมรรถภาพในการทำงานของอวัยวะบางส่วนร้อยละ 60 ของค่าจ้างรายเดือนตามประเภทของการสูญเสียแต่ไม่เกิน 10 ปี
ค่าทดแทนการทุพพลภาพร้อยละ 60 ของค่าจ้างรายเดือนตามประเภทของทุกคลภาพแต่ไม่เกิน 15 ปี
กรณีถึงแก่กรรมมีสิทธิได้รับเงินช่วยเหลือค่าทำศพ 100 เท่าของอัตราสูงสุดของค่าจ้างขั้นต่ำรายวันและมีสิทธิ์ได้รับค่าทดแทนในอัตราร้อยละ 60 ของค่าจ้างรายเดือนเป็นเวลาไม่เกิน8ปี
บทบาทและหน้าที่ของพยาบาลในงานอาชีวอนามัย
พยาบาลอาชีวอนามัย
ด้านบริหาร
การบริการในคลินิก
ด้านการศึกษา
ด้านการวิจัย
บทบาทของพยาบาลอาชีวอนามัย
การบริหารจัดการผู้เจ็บป่วยรายกรณี
การให้คำปรึกษาหารือ และการจัดการดูแลในภาวะวิกฤติ
การส่งเสริมสุขภาพและลดความเสี่ยง
การปฏิบัติตามข้อกาหนดกฎหมาย
นางสาวสิรินทรา ปะระทัง 621201167